วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

การวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของชาจีนในพื้นที่สูง Research on Yield and Quality Improvement of China teas in Highland


การวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของชาจีนในพื้นที่สูง
Research on Yield and Quality Improvement of China teas in Highland.
    บุญธรรม  บุญเลา
1
     ประสิทธิ์  กาบจันทร
2
     สมยศ  มีสุข
3
BOONTHAM  BOONLAW     PRASIT  KAPCHAN SOMYOT MEESUK  
ฝายพัฒนาเกษตรที่สูง  สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ
----------------------------
บทคัดยอ
การวิจัยเพื่อทดสอบการเจริญเติบโตและการใหผลผลิตของพันธุชาจีนในพื้นที่สูง ณ ศูนย
พัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง ตําบล แมวิน อําเภอแมวาง จังหวัดเชียงใหม ระหวางเดือนตุลาคม
2546 – กันยายน 2550 โดยใชพันธุชาจีนรวมกันทดสอบ 5 สายพันธุ คือ หยวนจืออูหลง  No.12
No.7132  HK.3  และสุยเซียน ใชปุยอินทรียรวมทดสอบ 2 ชนิด คือ ปุยคอก และปุยหมัก โดยกําหนด
อัตราสวนการใชปุยอินทรียที่ 4 ระดับ คือ 0, 1, 2 และ 3  กิโลกรัมตอตน โดยวางแผนการทดลองแบบ
Split - split Plot Design  ประกอบดวย  4  replications  ผลการทดลอง พบวา ชาจีนพันธุ No.12 มี
การเจริญเติบโตในดานความสูง และการแตกกิ่ง เมื่ออายุ 90 วัน สูงที่สุด รองลงมาคือ พันธุสุยเซียน
และการใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุดเมื่ออายุ 2, 3 และ 4 ป คือ พันธุ No.12 รองลงมาคือ พันธุ
No.7132 สวนชนิดปุยอินทรียที่เหมาะสมกับการใชในการปลูกชาจีน คือ ปุยหมัก ในอัตราที่ 3 กิโลกรัม
ตอตน
                                                           
1
หัวหนาฝายพัฒนาเกษตรที่สูง  สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร  มหาวิทยาลัยแมโจ
และผูอํานวยการศูนยพัฒนาโครงการหลวงสะโงะ
2
นักวิชาการเกษตรชํานาญการ 8 ระดับ 8 ฝายพัฒนาเกษตรที่สูง  สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร
มหาวิทยาลัยแมโจ
 
3
นักวิชาการเกษตร  ฝายพัฒนาเกษตรที่สูง  สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร  มหาวิทยาลัยแมโจ 1
คํานํา
(Introduction)
 ชา (Tea) เปนพืชใบเลี้ยงคูที่จัดอยูในวงศ Theaceae มีชื่อวิทยาศาสตรวา Camellia sinensis
(L.) ชาเปนไมพุมยืนตน จัดเปนพืชสวนอุตสาหกรรมที่ใชประโยชนเปนเครื่องดื่มและผลิตภัณฑอื่น ๆ
อยางกวางขวาง โดยเฉพาะชาใบ (ชาจีน) เปนที่นิยมบริโภคมานานและแพรหลายไปทั่วโลกและใน
ปจจุบันไดมีการปรับปรุงพันธุและคัดเลือกพันธุชาเพื่อผลิตน้ํามัน เพื่อเปนพลังงานทดแทนตอไปใน
อนาคต  จีนถือวาเปนชนชาติแรกที่นิยมดื่มน้ําชามานานกวา 2,000 ป สวนในประเทศไทยมีการดื่มน้ํา
ชากันมากในกลุมคนไทยเชื้อสายจีน และกระจายความนิยมไปอยางกวางขวางทั้งชาเมี่ยง  ชานม
และน้ําชาพรอมดื่ม  จึงมีการนําเขาผลิตภัณฑชาจากตางประเทศเปนจํานวนมาก ถึงแมวาจะมีการ
ผลิตขึ้นไดในพื้นที่สูงทางภาคเหนือบางก็ตาม แตชาที่ผลิตไดยังมีคุณภาพต่ําและไมตรงตามความ
ตองการของผูบริโภค  จึงจําเปนตองศึกษาคัดเลือกพันธุชาที่มีคุณภาพดี เหมาะกับการผลิตใน
สภาพแวดลอมของประเทศ เหมาะสมสําหรับการแปรรูป และทําผลิตภัณฑอื่น ๆ กระบวนการแปรรูปชาที่
มีคุณภาพในประเทศไทย สวนใหญจะดําเนินการโดยกลุมคนเชื้อสายจีน (ไตหวัน) บริษัทเอกชน และ
มูลนิธิโครงการหลวง โดยรวมแลวยังถือวาผลิตไดในจํานวนที่นอยเมื่อเทียบกับปริมาณการบริโภคชา
ของคนทั้งประเทศ
วัตถุประสงค
 ปจจุบันการปลูกชาจีนประเทศไทย โดยเฉพาะบนพื้นที่สูงทางภาคเหนือนั้น  พบปญหาตาง ๆ
มากมาย เชน พันธุชาที่เหมาะสมกับสภาพอากาศและความสูงของแตละพื้นที่ การจัดการหลังการเก็บ
เกี่ยวผลผลิต กระบวนการแปรรูปยังไมถูกตอง การเก็บรักษาผลผลิต การบรรจุหีบหอที่เหมาะสม
การตลาดหรือการกระจายสินคาสูผูบริโภคไมดีพอ ทําใหความสําเร็จในการปลูกชาสําหรับเกษตรกร
รายยอยนั้นไมมี นอกจากบริษัทเอกชนที่มีศักยภาพในทุก ๆ ดานเขามาดําเนินการอยางครบวงจรจน
ประสบผลสําเร็จและมีชื่อเสียง จากปญหาในภาพรวมดังกลาว จึงมีวัตถุประสงคของการวิจัย  ดังนี้
1. เพื่อศึกษาหาพันธุชาจีนที่มีการเจริญเติบโตดีและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
2. เพื่อศึกษาหาชวงระยะเวลาในการตัดแตงกิ่งและทรงพุมที่เหมาะสมในแตละชวงปของการ
เจริญเติบโต
3. ศึกษาการตอบสนองตอการใชปุยอินทรียในระดับแตกตางกัน 2
4. ศึกษาวิธีการแปรรูปผลผลิตของชาจีนที่มีคุณภาพเพื่อการคา
5. เพื่อการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตชาจีนไปสูกลุมเกษตรกรในพื้นที่
การตรวจเอกสาร
(Literature  review)
ประวัติความเปนมา
 ชา (Tea) เปนพืชใบเลี้ยงคูที่จัดอยูในวงศ (Family) Theaceae สกุล (Genus) Camellia L. ซึ่ง
มีอยูประมาณ 45 ชนิด (Species) กระจายอยูในเขตรอนและเขตอบอุนของทวีปเอเชีย ชา    ที่ปลูกกัน
เปนการคามีชื่อวิทยาศาสตรวา Camellis sinensis (L.) มีการจําแนกชาออกเปนสามกลุมใหญคือ
กลุมพันธุชาจีน (China Type) กลุมพันธุชาอัสสัม (Assam Type) และกลุมพันธุชาเขมร (Cambode
Type) (สัณห, 2535) กลุมพันธุชาจีนเปนชาที่มีทรงพุมเตี้ย อาจมีหลายลําตน มีความสูงประมาณ
2.75 เมตรหรือมากกวา ใบมีขนาดเล็ก แคบ ขนาดใบกวาง 2-4 ซม. ยาว 6-10 ซม. ใบตั้งตรง ผิวใบแก
กานแข็งกระดาง มีสีเขียวเขม เสนใบมองเห็นไมชัดมีอยู 6-8 คู ขอบใบหยักแบบฟนเลื่อย ปลายใบมี
รูปรางไมแนนอนแลวแตพันธุและสภาพแวดลอม มีขอถี่ ปลองสั้น เจริญเติบโตชา ทนทานตออุณหภูมิ
ต่ําและสภาพแวดลอมผันแปรไดดี ปลูกมากแถบตะวันออกและตะวันตกเฉียงใตของจีน ไตหวันและ
ญี่ปุน (ดุสิต และเกตุอร, 2531 ; สัณห, 2535 ; วิวัฒนและคณะ, 2541)
จากแหลงกําเนิดชาที่กลาวกันวา จีนเปนชนชาติแรกที่รูจักนําใบชามาใชประโยชนในรูปของ
เครื่องดื่ม จนกลายมาเปนเครื่องดื่มประจําชาติ ชาถูกนําเขาญี่ปุนโดยพระภิกษุชาวจีนผานทางประเทศ
เกาหลี หลังจากนั้นในป ค.ศ.1191 การปลูกชาไดกระจายไปทั่วประเทศญี่ปุน และ     ยังมีชาที่มี
แหลงกําเนิดในญี่ปุนขึ้นตามปาบนภูเขาทางตอนใตของเมือง Kanto ซึ่งไดเรียกที่นั่นวา  Yamacha
หรือ ภูเขาชา ในปจจุบันแหลงปลูกชาที่สําคัญของโลกกระจายอยูเกือบทั่วทุกทวีป แตแหลงปลูกชาที่
สําคัญ ๆ ไดแก ประเทศจีน ญี่ปุน ไตหวัน มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ศรีลังกา โรดิเซีย แคมารุน
เคนยา เปรู บราซิล อารเจนตินา อิหราน รัสเซีย ตุรกี และรัฐควีนแลนดของออสเตรเลีย (สัณห, 2535)
แหลงกําเนิดชาตามธรรมชาติ มีจุดศูนยกลางอยูบริเวณตะวันออกเฉียงใตของจีน ใกลกับตน
น้ําอิระวดี และมีการกระจายพันธุตามพื้นที่ จากทิศตะวันตกระหวางเทือกเขามานิปุริ และลูไช ตาม
แนวชายแดนของรัฐอัสสัม และประเทศพมาไปยังจังหวัดซีเกียงของจีนทางดานทิศตะวันออกแลวลงสู
ทางทิศใตตามเทือกเขาของพมาลงมาทางตอนเหนือของไทย ไปสิ้นสุดที่เวียดนาม ลักษณะการ
กระจายตัวเปนแบบรูปพัด โดยมีอาณาเขตจากดานทิศตะวันออกจรดทิศทางทิศตะวันตก กวางถึง 3
1,500 ไมล หรือ 2,400 กม. ระหวางเสนลองติจูด 95° – 120° ตะวันออก และจากทางดานทิศเหนือ
จรดทิศใต มีความยาว 1,200 ไมล หรือ 1,920 กม. ระหวางเสนละติจูดที่  29° – 11° เหนือ
ชาจีนในประเทศมาเลเซีย ถูกนําพันธุชาจีนเขามาปลูกที่รัฐปนัง ในป ค.ศ.1802 ตอมาใน ป
ค.ศ.1822 ไดมีการนําชาจีนเขาไปปลูกในสิงคโปร จนเปนที่นิยมบริโภคในกลุมคนจีนกันอยาง
แพรหลาย ซึ่งสิงคโปรก็ไดมีการสั่งซื้อตนพันธุชาจีนมาปลูกเพิ่มเติมอีกเปนจํานวนมาก จากประเทศจีน
และอินเดียในป ค.ศ.1893 จึงมีการปลูกชาจีนในลักษณะสวนชาขนาดใหญเพิ่มมากขึ้นจนประสบ
ความสําเร็จโดยเฉพาะที่รัฐยะโฮร และเปรัค ตอมาในป ค.ศ.1910 ไดมีการทดลองปลูกชาบนภูเขาที่
Gunong และชาวจีนไดนําเมล็ดชาจากประเทศจีนมาทดลองปลูกที่รัฐเซลังงอร ตอมากระทรวงเกษตร
ของมาเลเซีย ไดนําเมล็ดชามาจากอินเดียทดลองปลูกบริเวณที่ต่ําของรัฐเซอรดัง และที่สูงบน
Cameron highlands จนกลายเปนแหลงปลูกชาขนาดใหญของประเทศมาเลเซียในปจจุบัน
การปลูกชาในประเทศอินเดีย มีการขยายตัวของอุตสาหกรรมชา เริ่มขึ้นเมื่อป ค.ศ.1818-1834
บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือ และตอมามีการคนพบชาปาที่เขต เนปาล และมานิเปอร เปนเหตุใหรัฐบาล
จัดตั้งคณะกรรมการดูแลการปลูกชาขึ้นในป ค.ศ.1834 ที่รัฐกัลกัตตา และมีคณะทํางานที่ได
ทําการศึกษาวิจัยคนควาทดลองเกี่ยวกับชาที่สวนพฤกษศาสตรแหงกัลกัตตาโดยไดรับความรวมมือ
และชวยเหลือดานเมล็ดพันธุชาจากประเทศจีน และมีชาปาที่ไดรับการคนพบอีกที่บริเวณภาค
ตะวันออกของอินเดีย เริ่มจากซาดิยาจนถึงพรมแดนของประเทศจีนที่มณฑลยูนาน เมื่อประเทศจีน
ไมใหความชวยเหลือเมล็ดพันธุชาแกอินเดีย ทําใหอินเดียตองเริ่มพัฒนาพันธุชาจากที่มีอยูเดิมไปสูการ
ผลิตเปนระบบอุตสาหกรรมเอง
การปลูกชาในประเทศอินโดนีเซีย เริ่มจากการนําเมล็ดพันธุมาจากประเทศญี่ปุน เมื่อป ค.ศ.
1824 ตอมาระหวางป ค.ศ.1827-1833 รัฐบาลอินโดนีเซียไดสงเจาหนาที่จํานวน 6 คนไปยังประเทศ
จีน เพื่อศึกษาและรวบรวมเมล็ดพันธุชาจีน และคนงานมาผลิตชาทําใหการปลูกชาในอินโดนีเซียถูก
ผูกขาดโดยภาครัฐ มาจนถึงป ค.ศ.1860 ซึ่งในระยะแรกยังไมมีรายไดจากการปลูกชา จนกระทั่งป
ค.ศ.1878 จึงไดมีการนําชาพันธุอัสสัมเขามาปลูก ตอมาในป ค.ศ.1919 มีบริษัทของชาจากประเทศ
อังกฤษ ไดเขามาดําเนินการเพื่อพัฒนาการปลูกชาบนเกาะสุมาตรา ในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2
อุตสาหกรรมชาของอินโดนีเซียก็ไมคอยดีขึ้นเทาที่ควรก็เนื่องมาจากความ    ไมแนนอนดานนโยบาย
และเศรษฐกิจ จึงเปนเหตุใหผูผลิตชารายยอย จํานวนถึง 17 % ถูกละเลยไมไดรับการดูแลเอาใจใสจาก
ภาครัฐบาล ในระหวางป ค.ศ.1941-1971 ทําใหพื้นที่การปลูกชาในประเทศอินโดนีเซียลดลงถึง 70 %
ตนชาจึงถูกตัดทําลายไปปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน
การปลูกชาในประเทศศรีลังกา ไดเริ่มปลูกกันอยางจริงจัง ตั้งแตป ค.ศ.1870 ในระยะเวลา 10
ป มีพื้นที่การปลูกชาเพิ่มขึ้นเปน 5,750 เฮกเตอร ตอมาอีก 15 ป มีพื้นที่ปลูกชาเพิ่มขึ้นเปน 123,400 4
เฮกเตอร ทั้งนี้ก็เพราะรัฐบาลศรีลังกาไดมีการสงเสริมการปลูกชาอยางจริงจัง ประกอบกับในขณะนั้น
เกิดโรคราสนิมระบาดกับตนกาแฟเปนครั้งแรก ทําใหพื้นที่การปลูกกาแฟถูกโรคราสนิมทําลายอยาง
ราบคาบ เปนเหตุใหเกษตรกรหันมาปลูกชาแทนอยางรวดเร็ว และกอนสงครามโลกครั้งที่ 1 ไดมี
บริษัทเอกชนสนใจปลูกชาเพิ่มมากขึ้น แตพื้นที่ถือครองที่ดินพื้นที่ปลูกของศรีลังกาถูกถือครองโดย
เกษตรกรรายยอย โดยมีการถือครองที่ดินประมาณรายละ 4 เฮกเตอร การพัฒนาของบริษัทเอกชนที่
จะทําอุตสาหกรรมชาจึงมีขอจํากัด
การปลูกชาในประเทศรัสเซีย เริ่มแรกที่ Sukhum Botonic Gandens บนฝงทะเลดํา ใน   ป
ค.ศ.1847 โดยอุปราชของเมืองคอเคซัส เมื่อตนชาเจริญเติบโตเริ่มใหผลผลิต ทําใหมีความนิยมการ
ปลูกชาเพิ่มมากขึ้น ตอมาป ค.ศ.1884 ไดมีการนําเขาตนกลาชาจากประเทศจีนมาปลูกในพื้นที่
ประมาณ 5.5 เอเคอร จากนั้นไดเริ่มมีกลุมผูสนับสนุนการปลูกชาเพิ่มขึ้นโดยการซื้อพื้นที่สวนบนฝง
ทะเลดํา จํานวน 3 แหง จํานวน 385 เอเคอร สําหรับการปลูกชา โดยการนําเขาเมล็ดชาจากประเทศจีน
อินเดีย  และศรีลังกา  รวมทั้งมีการจางผูเชี่ยวชาญดานชามาจากประเทศจีน เขามาควบคุมและ
ฝกสอน ทั้งนี้ไดมีการจัดซื้อวัสดุอุปกรณและเครื่องมือการผลิตชามาจากประเทศอังกฤษ ตอมาป ค.ศ.
1900 กระทรวงเกษตรของรัสเซียไดเริ่มจัดตั้งสถานีทดลองการปลูกชาขึ้น และไดนําการขยายพันธุชา
เพื่อแจกจายแกเกษตรกรโดยไมคิดมูลคา จากการดําเนินการดังกลาวทําใหการปลูกชาไดขยายตัวมาก
ขึ้นอยางรวดเร็ว ในป ค.ศ.1905 มีสวนชาอยูเพียง 39 แหง พื้นที่ปลูกชาเพียง 1,100 เอเคอร และในป
ค.ศ.1913 มีสวนชาขนาดใหญเพิ่มขึ้นเปน 146 แหง พื้นที่ปลูกเปน 2,300 เอเคอร และป ค.ศ.1962 มี
พื้นที่ปลูกชาเพิ่มขึ้นเปน 162,800 เอเคอร ปจจุบันประเทศรัสเซียมีแหลงผลิตชากันมากที่รัฐจอรเจีย
ชายฝงทะเลดํา
ในทวีปยุโรป อังกฤษถือเปนประเทศแรกที่รูจักนําใบมาใชประโยชน เมื่อมีการนําเขาใบชาจาก
ประเทศจีน ในป ค.ศ.1657 โดยมีหลักฐานที่ยืนยันไดวาชาวดัทซ เปนผูนําชาไปเผยแพรในประเทศ
อินโดนีเซีย ในขณะที่ชาวอังกฤษเปนผูนําชาเขาไปเผยแพรในประเทศอินเดียและศรีลังกา ตามประวัติ
กลาวไดวา นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษ ชื่อ โรเบิรต ฟอรจูน เปนผูที่มีความสําคัญตอการกําเนิด
อุตสาหกรรมชาที่สรางความมั่งคั่งใหกับประเทศอินเดียในเวลาตอมา โรเบิรต ฟอรจูน เกิดที่เมือง
เมอวิค ในป ค.ศ.1812 และไดรับการฝกอบรมที่ Royal Botanic Gardens ที่เมือง      เอดินเบอรก
จากนั้นจึงยายไปปฏิบัติงานประจําที่ Horticultural Society’s Garden เมืองเซสวิค และในป ค.ศ.1843
เขาถูกสงตัวไปประเทศจีนเพื่อดําเนินการรวบรวมไมประดับชนิดใหม ๆ จากจีน ในครั้งนี้โรเบิรต ก็ไดเก็บ
รวบรวมเมล็ดพันธุชาจากแหลงปลูกชาขนาดใหญที่หนิงโป และตอมาไดจัดสงเมล็ดชาไปทดลองปลูก
ที่อัสสัมของประเทศอินเดีย 5
ในแถบทวีปอัฟริกา เริ่มตนการปลูกชาที่ Durban Botanic Gardens ในป ค.ศ.1850 หลังจาก
ที่ประสบความลมเหลวในการปลูกกาแฟมากอน ดังนั้นการปลูกชาเพื่อการอุตสาหกรรมจึงไดเริ่มขึ้นที่
เมืองนาตาล ในป ค.ศ.1877 มีรายงานในป ค.ศ.1943 ไดเขียนไววามีเนื้อที่ปลูกชาอยู 809 เฮกเตอร ใน
ปจจุบันการปลูกชาของอัฟริกาไดขยายตัวออกไปอยางกวางขวางภายใตการสนับสนุนของบริษัทรวม
ทุนขนาดใหญ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมชาของอัฟริกาใต พื้นที่ปลูกชาขนาดใหญอยูบริเวณที่ราบเชิง
เขาดานทิศตะวันออกของเทือกเขา Massif เมืองทรานสวัล และเมืองนาตาล ซึ่งพื้นที่ปลูกชาแหลงใหญนี้
มีระดับความสูงจากระดับน้ําทะเล ประมาณ  900 – 1,200 เมตร จึงมีสภาพอากาศหนาวเย็น การปลูกชา
จึงมีคุณภาพดี อุตสาหกรรมชาที่เกาแกที่สุดของ    อัฟริกาอีกแหงหนึ่ง ก็เริ่มที่เมืองมาลาวี โดยมีการ
นําเอาเมล็ดชามาทดลองปลูกครั้งแรกใน ปค.ศ.1878 แตก็ไมประสบความสําเร็จ ตอมาในระหวางป
ค.ศ.1886 – 1888 ไดมีนักสอนศาสนาชนชาติอังกฤษ ไดนําเอาเมล็ดพันธุชามาจาก Kew และ
Edinburgh Botanic Gardens ตนพันธุชาที่ทดลองเพาะปลูกจนสําเร็จเปนแหงแรกในป ค.ศ.1891
ตอมามีการขยายพันธุไปปลูกตอยังประเทศเคนยา อูกานดา และแทนชาเนีย ในชวงระยะเวลาตอมา
อีก ประมาณ 10 ป (ค.ศ.1920 – 1930) การพัฒนาอุตสาหกรรมชาจึงเกิดขึ้นอยางเปนระบบ เพราะใน
ป ค.ศ.1921 – 1925 มีบริษัทเอกชน 3 บริษัท ไดเริ่มปลูกชาขึ้นที่ Rift Valley และใน ป ค.ศ.1924
อุตสาหกรรมของประเทศแทนซาเนีย ไดเริ่มเกิดขึ้นที่เมือง Tukuyu บริเวณที่ราบสูงตอนใตของประเทศ
จากนั้นตอมาก็ไดขยายพื้นที่ปลูกมายังเทือกเขา Usambara ในป ค.ศ.1931 สําหรับในประเทศอู
กานดานั้นการปลูกชาเปนอุตสาหกรรมคอนขางชา โดยเริ่มมีการปลูกชาบางในป ค.ศ.1930 เพียง
เล็กนอยเทานั้น
ในเขตทวีปออสเตรเลีย ไดมีการนําเอาเมล็ดพันธุชาจาก Kew Botanic Gardens ประเทศ
อังกฤษ เขามาเริ่มทดลองปลูกที่รัฐควีนสแลนด ตอมาในป ค.ศ.1936 สถานีวิจัย South Johnstone  ได
นําเมล็ดพันธุชามาจากไรทดลอง บานามา มาทดลองปลูก และในป ค.ศ.1942 จึงไดนําไปทดลองปลูก
ในสถานีในพื้นที่ประมาณครึ่งเอเคอร งานทดลองชาจึงเริ่มขึ้นอยางเปนระบบในป ค.ศ.1950 และ
ตอมาในป ค.ศ.1960 มีบริษัทเอกชน 3 แหง ที่ตั้งอยูที่ Nerada และ Tully จึงไดคิดคนกรรมวิธีในการ
เก็บเกี่ยวผลผลิตชาโดยใชเครื่องจักรทดแทนการใชแรงงานคน
ในปจจุบันแหลงปลูกชาที่สําคัญของโลกจึงถูกกระจายตัวอยูทุกทวีป โดยเริ่มจากเสนละติจูดที่
40° เหนือถึง 30°  ใต
สําหรับการปลูกชาในประเทศไทย พบตนชาที่มีแหลงกําเนิดอยูเดิมตามภูเขาทางภาคเหนือ
ของประเทศ แหลงปลูกไดกระจายอยูในหลายจังหวัดแถบภาคเหนือที่สําคัญ ไดแก 6
จังหวัดเชียงใหม : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอดอยสะเก็ด  แมริม  แมแตง  จอมทอง  ฝาง
อมกอย  ไชยปราการ  แมอาย  สะเมิง  เชียงดาว  แมทา  พราว  แม
แจม  และแมวาง
จังหวัดเชียงราย : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอเมือง  แมจัน  แมฟาหลวง  แมสรวย  เวียงปา
เปา  เทิงและปาแดด
จังหวัดพะเยา  : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอเมือง  ปง  และเชียงคํา
จังหวัดแมฮองสอน  : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอเมือง  ปาย  ปางมะผา  แมสะเรียง  
  แมลานอย  และขุนยวม
จังหวัดนาน : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอเมือง  และปว
จังหวัดแพร : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอเมือง
จังหวัดลําปาง : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอเมืองปาน  และวังเหนือ
จังหวัดตาก : มีแหลงปลูกชาที่อําเภอเมือง  และพบพระ
คณะทํางานโครงการวิจัยชาของมูลนิธิโครงการหลวง ไดทําการออกสํารวจชาปา และไดพบ
ตนชาเกาแกอายุหลายสิบป มีเสนผาศูนยกลางลําตน 0.5 เมตร พบที่บานไมฮุง อําเภอปางมะผา
จังหวัดแมฮองสอน บริเวณเขตติดตอชายแดนไทยพมา ตนชาที่พบเปนชาอัสสัม (Assan tea)
เนื่องจากเปนตนชาที่มีขนาดใหญมาก ชาวบานในพื้นที่จึงเรียกวาตนชาพันป จากขอมูลการสํารวจตน
ชาปาที่มีขนาดใหญ สามารถพบไดอีกตามบริเวณเทือกเขาสูงของจังหวัดแพรและนาน สวนชาสวน
ใหญทางภาคเหนือเปนสวนเกา ไดจากการตัดโคนไมปาธรรมชาติออกไป เหลือไวแตตนชาปา ที่
ชาวบานสวนใหญนิยมเรียกวา สวนเมี่ยง จึงมีจํานวนตนตอไรคอนขางต่ํา ประมาณ 150 – 250 ตนตอ
ไร ผลผลิตสดของใบชาตอไรก็ต่ําไปดวยเพียง 140 – 220 กก.ตอไร การเก็บใบชาเมี่ยงนิยมใชมือรูดทั้ง
กิ่ง จะมีทั้งใบออน และใบแกปานกลาง แลวนําไปผลิตโดยการหมักทําเมี่ยง ในบางฤดูกาลถาราคา
เมี่ยงสูง ชาปาเหลานี้ก็จะถูกผลิตเปนชาเมี่ยง แตถาราคาเมี่ยงตกต่ํา เกษตรกรก็จะเก็บใบชาปา
ดังกลาวไปจําหนายยังโรงงานผลิตชาจีนขนาดเล็ก เพื่อการแปรรูปทําใหผลิตภัณฑ   ชาจีนที่ไดมี
คุณภาพต่ํา ปจจุบันมีการสงเสริมการปลูกชาจีนเพิ่มขึ้นโดยบริษัทเอกชนเพื่อการแปรรูปมากขึ้น เชน
พื้นที่ดอยแมสลอง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย พื้นที่ดอยวาวี อําเภอเมือง จังหวัด เชียงราย และมีพื้นที่
สงเสริมของมูลนิธิโครงการหลวงที่ศูนยพัฒนาโครงการหลวงมอนเงาะ อําเภอแมแตง ศูนยพัฒนา
โครงการหลวงขุนวาง  อําเภอแมวาง  ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมปูนหลวง อําเภอเวียงปาเปา  ศูนย
พัฒนาโครงการหลวงหวยน้ําขุน อําเภอแมสรวย สถานีเกษตรหลวงอางขาง อําเภอฝาง จังหวัด
เชียงใหม โดยไดมีการผลิตการแปรรูป การบรรจุหีบหอ และการจัดจําหนายอยางเปนระบบครบวงจร 7
จนเกษตรกรผูรวมในโครงการมีรายไดจากการปลูกชาจีนติดตอกันอยางตอเนื่อง และมีรายไดตอไร
คอนขางสูง จะเห็นไดวาเกษตรกรผูปลูกชาจีนปจจุบันจะตองมีระบบโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการแปร
รูปและการจัดจําหนายที่ดี เกษตรกรจึงจะสามารถยึดเปนอาชีพได ถาปลอยใหเกษตรกรดําเนินการเอง
อยางครบวงจรแลวไมนาจะทําได ก็เพราะวากระบวนการแปรรูปมีหลายขั้นตอน มีความละเอียดออน
จะตองปฏิบัติตามขั้นตอนโดยเครงครัด และตองใชความชํานาญ สวนบุคคลมาปฏิบัติงาน จึงจะประสบ
ความสําเร็จได จากอดีตที่ผานมา ชาปา หรือชาเมี่ยงเปนการเก็บชาจากปามาหมักตามวิธีแบบพื้นบาน
ไมมีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐานมารองรับ การผลิตชาดังกลาวจึงไมแนนอน รายไดจึงต่ํา
ประกอบกับผูบริโภครุนใหม ๆ ไมสนใจที่จะบริโภคเมี่ยง จึงทําใหชาเมี่ยงเริ่มมีการผลิตลดลง
การพัฒนาอุตสาหกรรมชาของประเทศไทย ไดเริ่มขึ้นอยางจริงจังในป พ.ศ.2480 โดยมีนาย
ประสิทธิ์และนายประธาน พุมชูศรี สองพี่นองไดเริ่มกอสรางโรงงานชาขนาดเล็กขึ้นที่อําเภอ แมแตง
จังหวัดเชียงใหม และรับซื้อใบชาสดจากชาวบานที่ทําเมี่ยงอยูแลว มาผลิตเปนชาจีน     (ชาเขียว) แต
ไมประสบความสําเร็จ พบปญหา อุปสรรค หลายประการ เชน ใบชาสดไมมีความสม่ําเสมอ มีคุณภาพ
ต่ํา ปริมาณมีไมเพียงพอ เกษตรกรขาดความรูความชํานาญในการเก็บเกี่ยวยอดชา และการตัดแตงกิ่ง
ชา เพื่อสรางทรงพุมและผลิตยอดรุนใหมที่มีคุณภาพ สวนที่อําเภอฝางนั้น มีนายพร เกี่ยวการคา ได
รูจักผูเชี่ยวชาญทางดานชาชาวฮกเกี้ยน จากประเทศจีน มาใหคําแนะนําถายทอดความรูใหกับ
เกษตรกรและนักวิชาการไทยที่สนใจเรื่องชา ตอมาในป พ.ศ.2482 สองพี่นองตระกูลพุมชูศรี ไดหา
ทางแกไขปญหาวัตถุดิบกอนเขาโรงงานโดยเริ่มปลูกชาเปนของตนเอง โดยใชเมล็ดพันธุชาพื้นเมืองมา
ทําการเพาะปลูกสวนชาแหงใหมนี้ตั้งอยูที่บานแกงพันเตา อําเภอเชียงดาว ในพื้นที่ปลูกประมาณ 100
ไร ตอมาไดขยายพื้นที่ปลูกไปที่บาน เมืองกึด บานชาง ตําบลสันมหาพล อําเภอแมแตง ตอมาในป
พ.ศ.2508 ไดมีการสงเสริมการปลูกชามากขึ้น จึงไดขอสัมปทาน การทําสวนชาจากกรมปาไม จํานวน
2,000 ไร ที่บานปางหวยตาก ตําบลอินทขิน อําเภอแมแตง ในนามของ บริษัท ชาระมิงค และทําสวน
ชาเพิ่มที่ตําบลสันมหาพล อําเภอแมแตง ในนามของบริษัท ชาบุญประธาน ชาที่ผลิตไดสวนใหญจะ
เปนชาฝรั่ง ตอมาไดมีเอกชนเริ่มใหความสนใจอุตสาหกรรมการผลิตชามากขึ้น เพราะวาตลาดเริ่ม
กระจายตัวมากขึ้นมาโดยตลอด ในป พ.ศ.2530 บริษัท ชาระมิงค ของพี่นองตระกูลพุมชูศรี ไดขาย
สัมปทานสวนชาใหแกบริษัท ชาสยาม จากนั้นบริษัท ชาสยาม ก็ไดขยายพื้นที่สงเสริมการปลูกชาให
เพิ่มมากขึ้นใหเกษตรกรในบริเวณใกลเคียงเปนลูกไร โดยการปลูกชาแบบใหม และรับซื้อใบชาสดจาก
เกษตรกร นํามาผลิตเปนชาฝรั่งในนามชาลิปตันจนถึงปจจุบัน มีผูประกอบกิจการใบชาที่จดทะเบียน
อยางถูกตองกับโรงงานอุตสาหกรรม ไมนอยกวา 20 ราย ในเขตภาคเหนือ ซึ่งทําการผลิตทั้งชาจีนและ
ชาฝรั่ง 8
สวนในภาครัฐนั้น การสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมไดเริ่มขึ้นในป พ.ศ.2483 โดย
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณสมัยนั้น คือ มล.เดช  สนิทวงศ อธิบดีกรมสงเสริมการเกษตรคือคุณ
พระชวง  เกษตรศิลปะการ และหัวหนากองพืชสวน มจ.ลักษณากร  เกษมสันต ไดเดินทางไปสํารวจหา
แหลงที่จะทําการปลูกและปรับปรุงพันธุชาที่อําเภอฝาง  จังหวัดเชียงใหม  และไดเลือกบริเวณโปงน้ํา
รอน  เปนพื้นที่ทดลองปลูกชา  โดยตั้งเปนสถานีทดลองพืชสวนฝาง โดยมีนายพวง  สุวรรณธาดา เปน
หัวหนาสถานี ระยะแรกเมล็ดพันธุชาที่ใชปลูกก็ไดทําการเก็บจากทองที่ตําบลมอนปน  และดอยขุนสวย
ที่มีตนชาปาเกิดขึ้นอยูแลว ตอมาไดมีการนําเมล็ดชาพันธุดีมาจากประเทศอินเดีย ไตหวัน และญี่ปุน
มาทดลองปลูก เพื่อเปรียบเทียบกับพันธุเดิมที่มีอยู และไดทําการคนควาวิจัยตอไปในสวนของกรม
วิชาการเกษตรนั้น ก็ไดขยายการศึกษาทดลองเกี่ยวกับชามากขึ้น โดยไปปลูกยังสถานีเกษตรที่สูง
หลายแหง เชน สถานีทดลองพืชสวนดอยมูเซอ จังหวัดตาก สถานีทดลองเกษตรที่สูง ดอยวาวี จังหวัด
เชียงราย และสถานีทดลองเกษตรที่สูงแมจอมหลวง จังหวัดเชียงใหม และในป พ.ศ.2528 ฝายรักษา
ความมั่นคงแหงชาติ ไดริเริ่มโครงการปลูกชา ในพื้นที่หมูบาน อพยพ 6 แหง คือ บานหนองอุก บานแก
นอย แมแอบ ถ้ํางอบ ถ้ําเปยงหลวง และแมสลอง โดยหมูบานเหลานี้จะมีคนเชื้อสายจีนฮออาศัยอยู ซึ่ง
ใหอยูในความควบคุมดูแลของ บก.04 โครงการนี้ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลไตหวัน
จัดสงเมล็ดชาพันธุดีมาปลูก พรอมทั้งสงผูเชี่ยวชาญมาถายทอดเทคนิคการปลูก การแปรรูป อีก 3 ป
ตอมา ประมาณ ป พ.ศ.2525 มีการปลูกชามากขึ้นที่ดอยแมสลอง จึงไดมีการจัดตั้งสหกรณใบชาแมสล
อง ที่บานแมสลอง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ระบบราก (Root system)
ตนกลาชาที่มาจากการเพาะเมล็ด จะเปนระบบรากแกวที่หยั่งลึก 1.5 – 3 เมตร และมี
รากฝอยกระจายอยูรอบเพื่อหาอาหาร ในสวนของตนกลาชาที่มาจากการปกชํากิ่งก็จะไมมีรากแกว มี
แตระบบรากฝอยที่กระจายอยูรอบลําตนเพื่อพยุงลําตนและการหาอาหาร
ใบ (Leaves)
ใบชามีสีเขียวเขมเปนมัน มีการจัดเรียงตัวของใบแนบ alternate แผนใบหนาเหนียว
ขอบใบหยักแบบฟนเลื่อย มีความกวาง ตั้งแต 3 - 6 ซม. และความยาว ตั้งแต 3 - 30 ซม. ใตใบมีขน
ออนปกคลุม ปากใบพบมากบริเวณใตใบ ขนาดใบของกลุมพันธุชาจีนจะมีขนาดเล็กกวากลุมพันธุ
ชาอัสสัม 9
ดอก (Flowers)
ดอกของชามีทั้งดอกเดี่ยวและดอกชอ จํานวน 2 – 4 ดอก เกิดบริเวณตําแหนง       ตา
ขางของกิ่ง กานดอกสั้น ดอกมีกลิ่นหอม มีขนาดเสนผาศูนยกลางดอก 2.5 – 4 ซม. มีกลีบดอก 5 – 7
กลีบ กลีบเลี้ยง 5 – 7 กลีบ ดอกบานมีสีขาวหรือขาวอมชมพู รูปกลีบดอกเปนแบบ obovate ลักษณะ
โคงเวา มีเกสรตัวผูจํานวนมาก ยาว 5 – 12 ซม. อับเรณูมีสีเหลือง 2 ชอง กานชูเกสรตัวเมียสั้นแยกได
3 – 5 lobes
ผล (Fruits)
ผลของชาเปนแบบ capsule เปลือกหนามีสีน้ําตาลอมเขียว แบงเปน 3 ชอง ขนาด
เสนผาศูนยกลางผล 1.5 – 2.0 ซม. ใชเวลาจากเริ่มติดผลพัฒนาจนแกเต็มที่ 9 – 12 เดือน เมื่อผลแก
เปลือกจะมีลักษณะขรุขระ ผลที่แกเต็มที่จะแหงและแตก โดยเริ่มแตกจากสวนปลายของผลกอน
เมล็ด (Seeds)
ในผลจะมี 1 – 3 เมล็ด มีรูปรางกลมอีกดานหนึ่งแบน ขนาดเสนผาศูนยกลางของ
เมล็ด 1.0 – 1.5 ซม. เมล็ดมีเปลือกบางสีน้ําตาลออน ใบเลี้ยงอวบหนาเต็มไปดวยน้ํามัน จํานวนเมล็ด
ตอน้ําหนัก 1 ปอนด ประมาณ 230 เมล็ด
การจําแนกพันธุชา (Tea classification)
พันธุ (Varieties)
พันธุชาที่ปลูกเปนการคาทั่วโลกแบงได 3 กลุมใหญ
1. กลุมพันธุชาจีน (China Teas) ลักษณะทรงตนเปนพุมเตี้ย อาจมีลําตนสูง 2.75
เมตร ใบมีขนาดเล็ก แคบ มีขนาด 3 – 6 ซม. ความยาวใบขนาด 7 – 15 ซม. ใบมีสีเขียว       แข็ง
กระดาง ขอบใบหยักแบบฟนเลื่อย มีขอถี่ ปลองสั้น เจริญเติบโตชา ทนทานตออุณหภูมิต่ําไดดี ให
ผลผลิตต่ําเมื่อเทียบกับกลุมพันธุชาอัสสัม เปนกลุมที่ไดรับความนิยมมากที่สุดและมีการกระจายการ
บริโภคไปอยางกวางขวางทั่วโลก
2. กลุมพันธุชาอัสสัม (Assam Teas) เปนไมลําตนเดี่ยวตั้งตรงคอนขางใหญ มีความ
สูง ประมาณ 6 – 18 เมตร เจริญเติบโตเร็ว ใบมีขนาดใหญ ดอกเปนดอกชอ ชอละ 2 – 4 ชอ ทนอากาศ
แหงแลงและปรับตัวเขากับสภาพอากาศเขตรอนไดดี
3. กลุมพันธุชาเขมร (Cambodia Teas) มีลําตนเดี่ยว สูงประมาณ 5 เมตร ใบ
แข็งแรงเปนมัน ใบยาวประมาณ 7 - 8 ซม. ขอบใบหยักแบบฟนเลื่อย แผนใบมวนงอเปนรูปคลาย ตัวดี
กานใบมีสีออกแดง ในฤดูแลงสีใบออกสีแดงเรื่อ ๆ ยอดออนมีรสฝาดจัด 10
พันธุชาจีนที่นิยมแตกตางกันในแตละทองถิ่น เชน พันธุซิงซิงอูหลง หวูยิ ซิงซิงตาพัง
เตไกวอิน จือหลาน ตาเยอูหลง หวงกวาน สุยเซียน ยาบูกิตะ (สัณห, 2535) ในปจจุบันอาจจะมีการ
ผสมขามพันธุและคัดเลือกลักษณะที่ดีซึ่งเปนลูกผสมใหมแลวตั้งชื่อใหมตามแหลงผลิต เชน พันธุแม
จอนหลวง เบอร 1 – เบอร 4  หวยน้ําขุน เบอร 4 และเบอรอื่น ๆ อีกหลายสายพันธุ
เวลาและสถานที่
เวลา    :    ตั้งแตเดือนตุลาคม  2547  ถึงเดือนกันยายน  2550
สถานที่    :    ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง  หมูที่  10  ตําบลแมวิน  อําเภอแมวาง  
จังหวัดเชียงใหม
อุปกรณและวิธีการดําเนินงาน
(Materials  and  Methods)
อุปกรณ
1. ตนกลาพันธุชาจีน  จํานวน  5  สายพันธุ  คือ
- หยวนจืออูหลง
- สุยเซียน
- No. 12
- No. 7132
- HK. 3
2. ปุยคอก
3. ปุยหมัก
4. ปุยเคมี สูตร 15-15-15
5. สารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช
6. ปูนขาว
7. แกลบดิบ (เปลือกขาว)
8. ทอประปาและอุปกรณที่เกี่ยวของ
9. อุปกรณการเกษตรอื่น ๆ ที่จําเปน  11
วิธีดําเนินงาน
1. วางแผนการทดลองแบบ Randomized Completed Block Design (RCBD) ประกอบไป
ดวย 4 Replications และ 5 Treatments (พันธุ) ไดแก ชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง  (กานออน), สุยเซียน
, No.12, No.7132 และ HK3
2. การเตรียมแปลงปลูก โดยการไถดะ ตากดินทิ้งไว 10 วัน เพื่อกําจัดเมล็ดวัชพืช      และ
แมลงในดิน
- ไถพรวนเพื่อใหดินแตกละเอียด และรวนซุย เตรียมแปลงปลูกโดยการขุดรองลึก 40
ซม. โดยประมาณ
3. ใสแกลบดิบ (เปลือกขาว) ลงไปตามรอง ๆ ละ เทา ๆ กัน ใสปุยคอกและปุยหมักลงไปใน
รองปลูกตามระยะปลูกในอัตราสวน 0 : 1 : 2 : 3 ตอหลุมปลูกชาจีน แลวคลุกใหเขากันตามรองปลูก
โดยใชระยะปลูก ระหวางตน 50 ซม. ระหวางแถว 120 ซม. ตามผังการทดลอง
4. เตรียมตนกลาชาจีน 5 สายพันธุ คือ หยวนจืออูหลง, เบอร 12, สุยเซียน, HK.3 และ เบอร
7132 และปลูกชาจีน 5 สายพันธุตามผังการทดลอง
5. วางระบบน้ําหยดในแปลงปลูก
6. คลุมโคนตนชาจีนทั้งแปลงปลูกดวยแกลบดิบ (เปลือกขาว) เพื่อควบคุมวัชพืชและการ
รักษาความชื้นในดิน
7. ปลูกซอมแซมตนชาจีนที่ตายเนื่องจากการปลูกในฤดูแลง
8. ควบคุมการใหน้ํา ใหแปลงชาจีนไดน้ําอยางพอเพียงแกการเจริญเติบโต (งดใหน้ําวันที่มี
ฝนตก)
9. ใสปุยเคมี สูตรเสมอ 15 : 15 : 15 อัตราตนละ 1 ชอนชา ทุก ๆ 15 วัน
10. ใสปุยคอก และปุยหมัก รอบตนพรอมพรวนดินกลบโคนตนในอัตรา 0 : 1 : 2 : 3 โดย
น้ําหนักทุก ๆ 4 เดือน
11. ตัดแตงกิ่งเพื่อจัดทรงพุมและการดูแลรักษาความสะอาดในแปลงปลูก
12. เก็บเกี่ยวผลผลิตหลังจากปลูกได 2 ป โดยเก็บเกี่ยวหลังจากตัดแตงกิ่งแลว 50- 55 วัน
เฉลี่ย 60 วันตอครั้ง (รวมทั้งตัดแตงกิ่ง) 1 ป จะทําการเก็บเกี่ยวผลผลิตได 6 ครั้ง ยกเวน ปที่ 2    จะทํา
การเก็บเกี่ยวเพียง 3 ครั้ง เนื่องจากชาจีนกําลังเจริญเติบโตสรางทรงพุมและผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดนั้นยัง
มีปริมาณต่ํา ตั้งแตปที่ 3 เปนตนไป ผลผลิตจะมีมากขึ้นเปนลําดับและจะมีคุณภาพสูงมากขึ้นดวย
13. การเก็บขอมูล จากตนที่สุมไวแลวแถวละ 10 ตน โดยแตละแปลง (Treatment หรือพันธุ)
ปลูก 4 แถว ๆ ละ 50 ตน ตนที่ 1-25 ใชศึกษาระดับการใชปุยคอกในอัตราสวน 0 : 1: 2 : 3 โดยน้ําหนัก 12
จะสุมตัวอยางไว 5 ตน และตั้งแตตนที่ 26 – 50 ใชสําหรับศึกษาระดับการใชปุยหมักในอัตราสวน 0 : 1
: 2 : 3 โดยน้ําหนักซึ่งจะสุมตัวอยางไวอีก 5 ตน
HK.3
หยวนจืออูหลง
No.7132
สุยเซียน
No.12
Rep.1
No.12
No.7132
HK.3
หยวนจืออูหลง
สุยเซียน
Rep.3
หยวนจืออูหลง
No.12
สุยเซียน
HK.3
No.7132
Rep.4
สุยเซียน
HK.3
No.7132
No.12
หยวนจืออูหลง
Rep.2
ภาพที่ 1  แสดงผังการทดลอง13
ภาพที่ 2  แสดงเตรียมพื้นที่แปลงวิจัยชาจีน
ภาพที่ 3  แสดงตนกลาชาจีนที่ปลูกและระบบการใชน้ําในแปลงวิจัย14
ภาพที่ 4  แสดงการดูแลรักษาแปลงวิจัยชาจีน
ภาพที่ 5  แสดงการตัดแตงกิ่งชาจีน
R4 T1
R1 T2 R2 T3
R3 T4 R4 T515
ภาพที่ 6  แสดงชาจีน พันธุ หยวนจืออูหลง
R4 T1
ภาพที่ 7  แสดงชาจีน พันธุ No.12
R4 T216
ภาพที่ 9  แสดงชาจีน พันธุ HK.3
ภาพที่ 8  แสดงชาจีน พันธุ No.7132
R3 T3
R3 T417
ภาพที่ 10  แสดงชาจีน พันธุ สุยเซียน
R1 T518
ภาพที่ 11  แสดงยอดออนของชาจีนทั้ง  5  สายพันธุ
ภาพที่ 12  แสดงใบชาจีนทั้ง  5  สายพันธุที่สมบูรณเต็มที่19
ผลการทดลอง
การทดลองที่  1  ศึกษาผลของพันธุชาจีน  ในการทดสอบพันธุชาจีนบนที่สูง ในพื้นที่ศูนยพัฒนา
โครงการหลวงทุงหลวง หมูที่ 10 ตําบลแมวิน  อําเภอแมวาง  จังหวัดเชียงใหม โดยใชพันธุชาจีนที่มี
การปลูกเปนการคามาศึกษา จํานวน 5 สายพันธุ คือ หยวนจืออูหลวง  No.12  No.7132  HK.3  และ  
สุยเซียน ผลปรากฏดังนี้
1.1 การเจริญเติบโตทางดานความสูง ที่อายุหลังการยายปลูกได 90 วัน ซึ่งพันธุ No.12 มีการ
เจริญเติบโตดีที่สุด คือ 49.87 เซนติเมตร รองลงมาคือ สุยเซียน  HK.3  No.7132 เทากับ 47.19
เซนติเมตร  46.06 เซนติเมตร  45.43  เซนติเมตร ตามลําดับ  แตพันธุหยวนจืออูหลงมีการเจริญเติบโต
ชาที่สุด คือ 27.91  เซนติเมตร (ตารางที่1)
1.2 ไดเปรียบเทียบการแตกกิ่งตอตนของชาจีนทั้ง 5 สายพันธุ หลังจากการยายปลูกได 90
วัน พบวา พันธุ No.12 มีการแตกกิ่งมากที่สุด คือ 4.63 กิ่ง รองลงมา คือ สุยเซียน No.7132 และ HK.3
จํานวนกิ่งเทากับ 4.44, 4.42 และ 4.30 กิ่ง ตามลําดับ สวนพันธุหยวนจืออูหลง มีการแตกกิ่งนอยที่สุด
คือ 4.29 กิ่ง (ตารางที่ 1)
1.3 จากการทดสอบการเก็บเกี่ยวผลผลิตในชวงปที่ 2 หลังยายปลูก เก็บเกี่ยวจํานวน 3 ครั้ง
ผลผลิตเฉลี่ยปรากฏวา พันธุ No.12 ไดผลผลิตยอดชาสดมากที่สุด คือ 505.2 กิโลกรัมตอไร รองลงมา
คือ HK.3  สุยเซียน และ No.7132 ไดผลผลิตที่ 494.2  493.7  และ  793.6 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ
สวนพันธุหยวนจืออูหลงใหผลผลิตชาสดต่ําที่สุด คือ 358.3  กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 1)
1.4 จากการเก็บเกี่ยวผลผลิตชาจีนหลังจากการปลูกได 3 ปทําการเก็บเกี่ยวผลผลิตยอดชา
สด จํานวน 6 ครั้ง แลวปรากฏวาพันธุ No.12  ใหผลผลิตยอดชาสดตอไรสูงที่สุด คือ 1,213 กิโลกรัมตอ
ไร รองลงมาคือ No.7132  HK.3  และสุยเซียน เก็บเกี่ยวยอดชาสดได 1,147, 1,129 และ 1,125
กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ สวนพันธุหยวนจืออูหลง ใหผลผลิตยอดชาสดต่ําที่สุดคือ 946.7 กิโลกรัมตอ
ไร (ตารางที่ 1)
1.5 จากการเก็บเกี่ยวผลผลิตชาจีนหลังจากการปลูกได 4 ปทําการเก็บเกี่ยวผลผลิตยอดชา
สดจํานวน 6 ครั้ง แลวปรากฏวา พันธุ No.12 ใหผลผลิตยอดชาจีนสดตอไรสูงที่สุดคือ 1,265 กิโลกรัม
ตอไร รองลงมาคือ No.7132  สุยเซียน  และ HK.3  เก็บเกี่ยวยอดชาสดได 1,247  1,220  และ 1,216
กิโลกรัมตอไรตามลําดับ  สวนพันธุหยวนจืออูหลง ใหผลผลิตยอดชาสดต่ําที่สุด คือ 1,133  กิโลกรัมตอไร
(ตารางที่ 1) 20
ตารางที่ 1  ผลของพันธุชาจีน (Main plot) ที่มีตอขนาดความยาวกิ่ง และจํานวนกิ่งตอตน                
เมื่ออายุ 90 วัน  และผลผลิตสดในปที่ 2, 3 และ 4
พันธุ ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสดปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสดปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสดปที่ 4
(กก./ไร)
หยวนจืออูหลง 27.91
e
 4.29
c
 358.3
c
 946.7
d
 1,133
d
No. 12 49.87
a
 4.63
a
 505.2
a
 1,213
a
 1,265
a
No. 7132 45.34
d
 4.42
b
 493.6
b
 1,147
b
 1,247
ab
HK.3 46.06
c
 4.30
c
 494.2
b
 1,129
c
 1,216
c
สุยเซียน 47.19
b
 4.44
b
 493.7
b
 1,125
c
 1,220
bc
F - test  ** ** ** ** **
** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
ตัวอักษรที่แตกตางกันในแนวตั้ง มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบ โดยวิธี LSD 21
การทดลองที่  2  ศึกษาผลของชนิดปุยที่มีตอขนาดของความสูงตน  จํานวนกิ่งตอตน เมื่ออายุครบ
90 วัน และผลผลิตยอดชาจีนสดในปที่  2, 3 และ 4 ดังนี้
2.1  ไดทําการศึกษาชนิดปุยอินทรีย  2  ชนิด คือ ปุยคอก และปุยหมัก ในชาจีน 5 สายพันธุ
คือ หยวนจืออูหลง  No.12  No.7132  HK.3  และ สุยเซียน  พบวา ในดานการเจริญเติบโตทางความ
สูง ผลปรากฏวา การใชปุยหมักมีผลการเจริญเติบโตทางความสูงดีกวา คือ 43.78 เซนติเมตร แตปุย
คอกมีการเจริญเติบโตทางความสูงเพียง 42.77 เซนติเมตร (ตารางที่ 2)
2.2  การศึกษาทางดานการแตกกิ่งของชาจีน 5 สายพันธุ จากการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด ผล
ปรากฏวา การใชปุยหมักมีการแตกกิ่งมากกวาที่ 4.44 กิ่งตอตน  สวนการใชปุยคอกมีการแตกกิ่งเพียง
4.39 กิ่งตอตนเทานั้น  (ตารางที่ 2)
2.3  การศึกษาทางดานการใหผลผลิตของชาจีน 5 สายพันธุ ในปที่  2  ผลปรากฏวาการใชปุย
หมักใหผลผลิตยอดชาจีนสดมากกวา คือ 465.1 กิโลกรัมตอไร สวนการใชปุยคอก ใหผลผลิตนอยกวา
เพียง 472.9 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 2)
2.4  การศึกษาทางดานการใหผลผลิตของชาจีน 5 สายพันธุ ในปที่ 3 ผลปรากฏวา การใชปุย
หมักใหผลผลิตยอดชาสดมากกวา คือ 1,128 กิโลกรัมตอไร สวนการใชปุยคอกใหผลผลิตนอยกวา
เพียง 1,096 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 2)
2.5  การศึกษาทางดานการใหผลผลิตของชาจีน 5 สายพันธุ ในปที่ 4 ผลปรากฏวา การใชปุย
หมักใหผลผลิตยอดชาจีนสดมากกวา คือ 1,240 กิโลกรัมตอไร สวนการใชปุยคอกผลผลิตนอยกวา
เพียง 1,192 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 2)
ตารางที่  2  ผลของชนิดปุย (Sub plot) ที่มีตอขนาดความยาวกิ่ง และจํานวนกิ่งตอตนเมื่ออายุ 90 วัน
และผลผลิตสดในปที่ 2, 3 และ 4
ชนิดปุย ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสดปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสดปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสดปที่ 4
(กก./ไร)
ปุยคอก 42.77
b
 4.39
b
 465.1
b
 1,096
b
 1,192
b
ปุยหมัก 43.78
a
 4.44
a
 472.9
a
 1,128
a
 1,240
a
F - test  ** ** ** ** **
** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
ตัวอักษรที่แตกตางกันในแนวตั้ง มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี LSD 22
การทดลองที่  3  ศึกษาทางดานผลของการใชอัตราปุยอินทรีย 2 ชนิด ปุยคอก และปุยหมัก ในชาจีน 5
สายพันธุคือ หยวนจืออูหลง No.12  No.7132  HK.3 และ สุยเซียน โดยใสในอัตราที่แตกตางกัน โดย
น้ําหนัก คือ 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน ตามลําดับทุก 4 เดือน สรุปผลไดดังนี้ คือ
3.1  การศึกษาอัตราปุยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของชาจีน 5 สายพันธุ เมื่ออายุได 90 วันผล
ปรากฏวาการใชอัตราปุยที่ 3 กิโลกรัมตอตน มีอัตราการเจริญเติบโตสูงที่สุด คือ 47.53 เซนติเมตร
รองลงมาคือการใชอัตราปุยที่ 2 และ 1 กิโลกรัมตอตน  คือ 45.81  และ 42.64 เซนติเมตรตามลําดับ
สวนการใชอัตราปุยที่ 0 กิโลกรัมตอตน มีการเจริญเติบโตต่ําที่สุด คือ 37.11 เซนติเมตร (ตารางที่ 3)
3.2  การศึกษาอัตราปุยอินทรียที่มีผลตอการแตกกิ่งของชาจีน ทั้ง 5 สายพันธุ ผลปรากฏวา
การใชอัตราปุยที่ 2 กิโลกรัมตอตน มีการแตกกิ่งสูงที่สุด คือ 4.57 กิ่ง รองลงมา คือ การใชอัตราปุยที่ 3
และ 1 กิโลกรัมตอตน คือ 4.56 และ 4.44 กิ่ง สวนการใชอัตราปุยที่ 0 กิโลกรัมตอตน มีการแตกกิ่งต่ํา
ที่สุด คือ 4.09 กิ่ง (ตารางที่ 3)
3.3  การศึกษาอัตราปุยอินทรียที่มีผลตอการใหผลผลิตปที่ 2 ของชาจีน 5 สายพันธุ ผลปรากฏ
วา การใชอัตราปุยที่ 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุด คือ 1,308 กิโลกรัมตอไร รองลงมา
คือ การใชอัตราปุย ที่ 2 และ 1 กิโลกรัมตอตน คือ 1,224 และ 1,046 กิโลกรัมตอไรตามลําดับ สวนการ
ใชอัตราปุยที่ 0 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 406.9 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 3)
3.4  การศึกษาอัตราปุยอินทรียที่มีตอการใหผลผลิต ปที่ 3 ของชาจีน 5 สายพันธุ ผลปรากฏ
วา การใชอัตราปุยที่ 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุด คือ 1,308 กิโลกรัมตอไร รองลงมา
คือ การใชอัตราปุยที่ 2 และ 1 กิโลกรัมตอตน คือ 1,224 และ 1,046 กิโลกรัมตอไรตามลําดับ สวนการ
ใชอัตราปุยที่ 0 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 870.2 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 3)
3.5  การศึกษาอัตราปุยอินทรียที่มีตอการใหผลผลิต ปที่ 4 ของชาจีน 5 สายพันธุ ผลปรากฏ
วา การใชอัตราปุยที่ 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุด คือ 1,330 กิโลกรัมตอไร รองลงมา
คือ การใชอัตราปุยที่ 2 และ 1 กิโลกรัมตอตน คือ 1,275 และ 1,180 กิโลกรัมตอไรตามลําดับ สวนการใช
อัตราปุยที่ 0 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 1,079 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 3) 23
ตารางที่  3   ผลของอัตราปุย (Sub-sub plot) ที่มีตอขนาดความยาวกิ่ง และจํานวนกิ่งตอตน        
เมื่ออายุ 90 วัน และผลผลิตสดในปที่ 2, 3 และ 4
อัตราปุย
(กก./ตน)
ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสดปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสดปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสดปที่ 4
(กก./ไร)
0 37.11
d
 4.09
c
 406.9
d
 870.2
d
 1,079
d
1 42.64
c
 4.44
b
 461.8
c
 1,046
c
 1,180
c
2 45.81
b
 4.57
a
 493.2
b
 1,224
b
 1,275
b
3 47.53
a
 4.56
a
 514.1
a
 1,308
a
 1,330
a
F - test  ** ** ** ** **
** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
ตัวอักษรที่แตกตางกันในแนวตั้ง มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี LSD24
การทดลองที่ 4  การศึกษาผลรวมของพันธุชาจีน 5 สายพันธุ  ที่มีผลตอการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด ที่มี
ผลตอการเจริญเติบโต  จํานวนการแตกกิ่งตอตนเมื่ออายุครบ 90 วัน และผลผลิตชาจีนสดปที่ 2 ผลผลิต
ชาจีนสดปที่ 3 และ ผลผลิตชาจีนสดปที่ 4 เปนกิโลกรัมตอไร
4.1  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ คือ หยวนจืออูหลง No.12  No.7132  HK.3 และสุยเซียน
ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด คือ ปุยคอก และปุยหมัก ที่มีผลตอการเจริญเติบโตดานความ
สูง เมื่อมีอายุ 90 วัน ผลปรากฏวา ชาจีนNo.12 ตอบสนองตอการใชปุยหมักสูงที่สุด คือ 50.70
เซนติเมตร รองลงมา คือ ชาจีน No.12 ตอบสนองตอการใชปุยคอก คือ 49.04 เซนติเมตร และพันธุหย
วนจืออูหลง ตอบสนองตอการใชปุยคอก ต่ําที่สุดคือ 27.42 เซนติเมตร (ตารางที่ 4)
4.2  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด คือ ปุยคอก และ
ปุยหมัก ที่มีผลตอการแตกกิ่งกอตน เมื่อมีอายุ 90 วัน ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ตอบสนองตอ
การใชปุยหมักสูงที่สุด คือ 4.66 กิ่งตอตน รองลงมา คือ ชาจีน พันธุ No.12  ตอบสนองตอการใชปุย
คอก คือ 4.61 กิ่งตอตน สวนชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ตอบสนองตอการใชปุยคอกในการแตกกิ่งต่ํา
ที่สุด คือ 4.25 กิ่งตอตน (ตารางที่ 4)
4.3  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย 2 ชนิดคือ ปุยคอก
และปุยหมัก ที่มีผลตอการใหผลผลิตชาจีนสดในปที่ 2 ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ตอบสนองการ
ใชปุยหมักสูงที่สุด คือ 509.3 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.12 ตอบสนองตอการใชปุย
คอก คือ 501.2 กิโลกรัมตอไร และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ตอบสนองตอการใชปุยคอกต่ําที่สุด คือ
353.1 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 4)
4.4  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด คือ ปุยคอก และ
ปุยหมัก ที่มีผลตอการใหผลผลิตชาจีนสดในปที่ 3 ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ตอบสนองตอการใช
ปุยหมักสูงที่สุดคือ 1,299 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.12 ตอบสนองตอการใชปุยคอก
คือ 1,197 กิโลกรัมตอไร และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ตอบสนองตอการใชปุยคอกต่ําที่สุด คือ ให
ผลผลิตสดที่ 929.0 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 4)
4.5  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด คือ ปุยคอก
และปุยหมัก ที่มีผลตอการใหผลผลิตชาจีนสดในปที่ 4 ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.7132 ตอบสนอง
ตอการใชปุยหมักสูงที่สุด คือ 1,275 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.12 คือ 1,272 กิโลกรัม
ตอไร และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ตอบสนองตอการใชปุยคอกต่ําที่สุดคือ ใหผลผลิตสดที่ 1,098
กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 4) 25
ตารางที่  4  ผลรวม (Interaction) ของพันธุและชนิดปุยที่มีตอขนาดความยาวกิ่ง                        
และจํานวนกิ่งตอตน  เมื่ออายุ 90 วัน และผลผลิตสดในปที่ 2, 3 และ 4
พันธุ ชนิด
ปุย
ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสด
ปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 4
(กก./ไร)
หยวนจืออูหลง
ปุยคอก 27.42
g
 4.25 353.1 929.0 1,098
b
ปุยหมัก 28.40
f
 4.33 363.4 964.4 1,168
ab
No. 12
ปุยคอก 49.04
b
 4.61 501.2 1,197 1,272
a
ปุยหมัก 50.70
a
 4.66 509.3 1,299 1,259
a
No. 7132
ปุยคอก 44.55
e
 4.39 490.3 1,138 1,220
a
ปุยหมัก 46.13
d
 4.45 497.0 1,157 1,275
a
HK.3
ปุยคอก 44.67
d
 4.29 490.1 1,108 1,184
ab
ปุยหมัก 46.44
cd
 4.30 498.3 1,149 1,249
a
สุยเซียน
ปุยคอก 47.16
c
 4.43 490.6 1,108 1,188
ab
ปุยหมัก 47.21
c
 4.46 496.7 1,142 1,251
a
F - test  * ns ns ns **
*, ** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ, ns ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ
ตัวอักษรที่แตกตางกันในแนวตั้ง มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี LSD 26
การทดลองที่  5  การศึกษาผลรวมของพันธุชาจีน 5 สายพันธุที่มีตอการใชอัตราปุยอินทรีย ใน
อัตราสวน 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เมื่อมีอายุ 90 วัน และการใหผลผลิตชาจีนสดในปที่ 2, 3 และ 4
ดังนี้ คือ
5.1  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย ในอัตราสวน0 : 1 : 2 : 3
กิโลกรัมตอตน เปรียบเทียบกับการเจริญเติบโตทางดานความสูง ที่อายุ 90 วัน ผลปรากฏวา ชาจีน
พันธุ No.12 ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย ที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน มีการเจริญเติบโตสูงที่สุด คือ
53.31 เซนติเมตร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.12 ตอการใชปุยอินทรียที่ 2 กิโลกรัมตอตน คือ 53.15
เซนติเมตร และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง มีการเจริญเติบโตต่ําที่สุดที่อัตราการใชปุยคอก 0 กิโลกรัม
ตอตน โดยมีความสูงที่ 21.91 เซนติเมตร (ตารางที่ 5)
5.2  การศึกษาชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชอินทรีย ในอัตราสวน 0 : 1 : 2 : 3
กิโลกรัมตอตน เพื่อเปรียบเทียบการแตกกิ่งที่อายุ 90 วัน ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ตอบสนองตอ
การใชปุยอินทรียที่อัตรา 1 และ 2 กิโลกรัมตอตนเทากัน มีการแตกกิ่งสูงที่สุด คือ 4.75 กิ่ง รองลงมาคือ
ชาจีนพันธุสุยเซียน ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน มีการแตกกิ่งที่ 4.73 กิ่ง
และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลงตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่ อัตรา 0 กิโลกรัมตอตน โดยมีการแตก
กิ่งต่ําที่สุดคือ 3.85 กิ่ง (ตารางที่ 5)
5.3  การศึกษาชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียในอัตราสวน 0 : 1 : 2 : 3
กิโลกรัมตอตน เพื่อเปรียบเทียบการใหผลผลิตชาจีนสด ที่อายุ 2 ป ผลปรากฏวาชาจีนพันธุ No.12
ตอบสนองการใชปุยอินทรียอัตรา 3 กิโลกรัมตอตนใหผลผลิตสูงสุด คือ 551.1 กิโลกรัมตอไร รองลงมา
คือ ชาจีนพันธุสุยเซียนตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน โดยใหผลผลิตสดที่
540.2 กิโลกรัมตอไร และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่อัตรา 0 กิโลกรัม
ตอตน โดยใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุดคือ 307.5 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 5)
5.4  การศึกษาชาจีน 5 สายพันธุ ที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย ในอัตราสวน 0 : 1 : 2 : 3
กิโลกรัมตอตน เพื่อเปรียบเทียบการใหผลผลิตชาจีนสดที่อายุ 3 ป ผลปรากฏวาชาจีน No.12
ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุด คือ 1,410.0
กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุสุยเซียน ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน
โดยใหผลผลิตชาจีนสดที่ 1,358 กิโลกรัมตอไร และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ตอบสนองตอการใชปุย
อินทรียที่อัตรา 0 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 778.4 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 5)
5.5  การศึกษาชาจีน 5 สายพันธุที่ตอบสนองตอการใชปุยอินทรีย ในอัตราสวน 0 : 1 : 2 : 3
กิโลกรัมตอตน เพื่อเปรียบเทียบการใหผลผลิตชาจีนสดที่อายุ 4 ป ผลปรากฏวาชาจีนพันธุ No.12 และ
พันธุสุยเซียน ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน โดยใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุด27
เทากัน คือ 1,451 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.7132  ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่
อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน โดยใหผลผลิตชาจีนสดที่ 1,381 กิโลกรัมตอไร และชาจีนพันธุสุยเซียน
ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียที่อัตรา 0 กิโลกรัมตอไร โดยใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 989.4
กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 5)
ตารางที่  5  ผลรวม (Interaction) ของพันธุและอัตราปุยที่มีตอขนาดความยาวกิ่ง                              
และจํานวนกิ่งตอตนเมื่ออายุ 90 วัน และผลผลิตสดในปที่ 2, 3 และ 4
พันธุ อัตราปุย
(กก./ตน)
ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสด
ปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 4
(กก./ไร)
หยวนจืออูหลง
0 21.91
l
 3.85
h
 307.5
m
 778.4
j
 1,056
fgh
1 26.50
k
 4.36
ef
 342.5
l
 909.3
h
 1,118
e-h
2 30.61
j
 4.46
d
 372.5
k
 1,017
fg
 1,161
d-g
3 32.61
i
 4.48
d
 410.5
j
 1,083
e
 1,196
de
No. 12
0 42.20
f
 4.36
ef
 442.4
h
 909.9
h
 1,181
def
1 50.81
b
 4.75
a
 495.3
f
 1,197
d
 1,139
efg
2 53.15
a
 4.75
a
 532.0
c
 1,335
b
 1,291
bcd
3 53.31
a
 4.66
bc
 551.1
a
 1,410
a
 1,451
a
No. 7132
0 39.20
h
 4.05
g
 428.1
i
 892.8
hi
 1,040
gh
1 44.51
e
 4.41
de
 490.1
g
 1,090
e
 1,223
cde
2 47.90
d
 4.61
c
 523.4
d
 1,255
c
 1,346
abc
3 49.75
c
 4.61
c
 533.0
c
 1,351
b
 1,381
ab
HK.3
0 41.02
g
 4.13
g
 428.3
i
 890.7
hi
 1,031
gh
1 44.35
e
 4.31
f
 490.8
fg
 1,032
f
 1,191
def
2 47.95
d
 4.41
de
 522.2
d
 1,254
c
 1,281
bcd
3 50.90
b
 4.34
ef
 535.5
bc
 1,338
b
 1,363
ab
สุยเซียน
0 41.21
fg
 4.05
g
 428.2
i
 879.3
i
 989.4
i
1 47.05
d
 4.38
ef
 490.1
g
 1,003
g
 1,141
efg
2 49.43
c
 4.63
c
 516.0
e
 1,261
c
 1,296
bcd
3 51.06
b
 4.73
ab
 540.2
b
 1,358
b
 1,451
a
F - test  ** ** ** ** **
** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
ตัวอักษรที่แตกตางกันในแนวตั้ง มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี LSD 28
การทดลองที่  6  การศึกษาผลรวมของพันธุชาจีน 5 สายพันธุที่มีตอการใชอัตราปุยอินทรีย ใน
อัตราสวน 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน ที่มีผลตอความยาวของกิ่ง และจํานวนกิ่งตอตน หลังจากการ
ยายปลูกได 90 วัน และการใหผลผลิตสดของชาจีนในปที่ 2, 3 และ 4 ดังตอไปนี้ คือ
6.1  การศึกษาชนิดปุยอินทรีย คือ ปุยคอกและปุยหมัก รวมกับอัตราการใชปุยอินทรีย ที่  0 : 1
: 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโตทางดานความสูงหลังจากยายปลูกชาจีน ได
90 วัน ผลปรากฏวา การใชปุยหมักในอัตราที่ 3 กิโลกรัมตอตนใหผลตอบแทนดานความยาวของกิ่งสูง
ที่สุด คือ 48.06 เซนติเมตร รองลงมาคือ การใชอัตราปุยคอกที่ 3 กิโลกรัมตอตน และการใชปุยหมักอัตรา
ที่ 2 กิโลกรัมตอตน ชาจีนมีการเจริญเติบโตดานความยาวของกิ่งคือ 46.99 และ 46.80 เซนติเมตร
ตามลําดับ สวนการใชอัตราปุยหมักและปุยคอกในอัตราที่ 0 กิโลกรัมตอไร มีการเจริญเติบโตต่ําที่สุด
คือ 37.27 และ 36.95 เซนติเมตรตามลําดับ (ตารางที่ 6)
6.2  การศึกษาชนิดปุยอินทรีย คือ ปุยคอกและปุยหมัก รวมกับอัตราการใชปุยอินทรีย ที่
0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน  เพื่อเปรียบเทียบอัตราการแตกกิ่งของชาจีน 5 สายพันธุ หลังจากยายปลูก
ได 90 วัน ผลปรากฏวา การใชปุยหมักที่อัตรา 2 กิโลกรัมตอไร ทําใหชาจีนมีการแตกกิ่งสูงที่สุด คือ
4.60 กิ่ง รองลงมา คือ การใชปุยหมักที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน และการใชปุยคอกในอัตรา 2 กิโลกรัม
ตอตน ทําใหชาจีนมีการแตกกิ่ง จํานวน 4.59 และ 4.55 กิ่งตามลําดับ สวนการใชอัตราปุยหมักที่อัตรา
0 กิโลกรัมตอตน ชาจีนมีการแตกกิ่งต่ําที่สุด คือ 4.08 กิ่ง (ตารางที่ 6)
6.3  การศึกษาชนิดของปุยอินทรีย คือ ปุยคอกและปุยหมัก รวมกับอัตราการใชปุยอินทรีย ที่ 0
: 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เพื่อเปรียบเทียบการใหผลผลิตสดของชาจีน 5 สายพันธุ ในชาจีนที่มีอายุ 2 ป
ผลปรากฏวา การใหปุยหมักที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตนใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุด คือ 520.0 กิโลกรัมตอ
ไร รองลงมา คือ การใหปุยคอกที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน และการใหปุยหมักที่อัตรา 2 กิโลกรัมตอตน
โดยใหผลผลิตชาจีนสด จํานวน 508.10 และ 497.9 กิโลกรัมตอไรตามลําดับ และการใหปุยคอกใน
อัตรา 0 กิโลกรัมตอตนใหผลผลิตต่ําที่สุด คือ 406.0 กิโลกรัมตอไร  (ตารางที่ 6)
6.4  การศึกษาชนิดของปุยอินทรีย คือ ปุยคอกและปุยหมัก รวมกับอัตราการใชปุยอินทรีย ที่
0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เพื่อเปรียบเทียบการใหผลผลิตสดของชาจีน 5 สายพันธุ เมื่อชาจีนมีอายุ 3
ป ผลปรากฏวาการใหปุยหมักในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสด สูงที่สุด คือ 1,327
กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ การใหปุยคอกในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน และการใหปุยหมักในอัตรา 2
กิโลกรัมตอตน โดยใหผลผลิตชาจีนสดที่ 1,289 และ 1,254 กิโลกรัมตอไรตามลําดับ และการใหปุย
หมักในอัตรา 0 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 870.1 กิโลกรัม (ตารางที่ 6)
6.5  การศึกษาชนิดของปุยอินทรีย คือ ปุยคอกและปุยหมัก รวมกับอัตราการใชปุยอินทรีย ที่
0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เพื่อเปรียบเทียบการใหผลผลิตสดของชาจีน 5 สายพันธุในชาจีนที่มีอายุ 4 ป 29
ผลปรากฏวา การใหปุยหมักในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดสูงที่สุด คือ 1,435 กิโลกรัม
ตอไร รองลงมาคือ การใชปุยคอกที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน และการใชปุยหมักที่อัตรา 2 กิโลกรัมตอตน
ใหผลผลิตสดของชาจีนที่ 1,347 และ 1,314 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ และการใชปุยคอกในอัตรา      
0 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 1,071 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 6)
ตารางที่  6  ผลรวม (Interaction) ของชนิดปุยและอัตราปุยที่มีตอขนาดความยาวกิ่ง                  
และจํานวนกิ่งตอตน เมื่ออายุ 90 วัน และผลผลิตสดในปที่ 2, 3 และ 4
ชนิดปุย อัตราปุย
(กก./ตน)
ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสด
ปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 4
(กก./ไร)
ปุยคอก
0 37.27
f
 4.10
d
 406.0
g
 870.4
g
 1,071
d
1 42.00
e
 4.39
c
 457.6
f
 1,031
f
 1,115
d
2 44.81
c
 4.55
ab
 488.5
d
 1,195
d
 1,236
c
3 46.99
b
 4.54
ab
 508.1
b
 1,289
b
 1,347
b
ปุยหมัก
0 36.95
f
 4.08
d
 407.8
g
 870.1
g
 1,087
d
1 43.29
d
 4.50
b
 466.0
e
 1,062
e
 1,314
bc
2 46.80
b
 4.60
a
 497.9
c
 1,254
c
 1,125
d
3 48.06
a
 4.59
a
 520.0
a
 1,327
a
 1,435
a
F - test  ** ** ** ** **
** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ
ตัวอักษรที่แตกตางกันในแนวตั้ง มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี LSD 30
การทดลองที่  7  การศึกษาผลรวมของพันธุชาจีน 5 สายพันธุ คือ หยวนจืออูหลง No.12  No.7132
HK.3  และสุยเซียน กับการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด คือ ปุยคอก และปุยหมัก กับอัตราการใชปุยอินทรีย ที่
0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน ที่มีผลตอขนาดความยาวกิ่ง และจํานวนกิ่งตอตน เมื่อชาจีน มีอายุ 90 วัน
และการเปรียบเทียบการใหผลผลิตสดของชาจีน ในป 2, 3 และ 4 ดังตอไปนี้
7.1  การศึกษาพันธุของชาจีน 5 สายพันธุ รวมกับอัตราการใชปุยอินทรีย ที่ 0 : 1 : 2 : 3
กิโลกรัมตอตน ที่ชาจีนอายุได 90 วัน เปรียบเทียบกับการเจริญเติบโตในดานความสูง หรือความยาว
ของกิ่ง ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยหมักในอัตรา 2 กิโลกรัมตอตน ใหความยาวของกิ่งสูง
ที่สุด คือ 55.08 เซนติเมตร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.12  ที่ใชปุยหมักในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน และ
ชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยคอก ในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหความยาวของกิ่งที่ 54.20 และ 52.42
เซนติเมตร ตามลําดับ และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลงที่ใหปุยคอกที่อัตรา 0 กิโลกรัมตอตน ใหความยาว
ของกิ่งต่ําที่สุด คือ 21.7 เซนติเมตร (ตารางที่ 7)
7.2  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ รวมกับการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด รวมกับอัตราการใชปุย
อินทรีย ที่ 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เมื่อชาจีนอายุได 90 วัน เปรียบเทียบกับจํานวนกิ่งตอตน ผล
ปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยคอกในอัตรา 1 และ 2 กิโลกรัมตอตน มีการแตกกิ่งสูงที่สุดเทากัน
คือ 4.80 กิ่งตอตน รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยหมักในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน  มีการแตกกิ่ง
เทากันกับการใชปุยคอกที่อัตรา 1 และ 2 กิโลกรัมตอตน คือ 4.70 กิ่งตอตน และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง
ที่ใชปุยหมักในอัตรา 0 กิโลกรัมตอตน มีการแตกกิ่งต่ําที่สุด คือ 3.80 กิ่งตอตน (ตารางที่ 7)
7.3  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ รวมกับการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด รวมกับอัตราการใชปุย
อินทรีย ที่ 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เมื่อชาจีนมีอายุ 2 ป เปรียบเทียบกับการใหผลผลิตชาจีนสดเปน
กิโลกรัมตอไร ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยหมัก ในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีน
สดสูงที่สุด คือ 558.9 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุสุยเซียน ที่ใชปุยหมักที่อัตรา 3 กิโลกรัม
ตอตน และชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยคอกในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดที่ 547.2 และ
543.4 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ที่ใชปุยคอกอัตรา 0 กิโลกรัมตอตนให
ผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 305.4 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 7)
7.4  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ รวมกับการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด รวมกับอัตราการใชปุย
อินทรีย ที่ 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เมื่อชาจีนมีอายุ 3 ป เปรียบเทียบกับการใหผลผลิตชาจีนสดเปน
กิโลกรัมตอไร ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยหมัก ในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีน
สด สูงที่สุด คือ 1,419 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยคอกในอัตรา 3 กิโลกรัม
ตอตน และชาจีนพันธุสุยเซียนที่ใชปุยหมักอัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ใหผลผลิตชาจีนสดที่ 1,401.0 และ 31
1,3880 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลง ที่ใชปุยคอกในอัตรา 0 กิโลกรัมตอตน
ใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 774.6 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 7)
7.5  การศึกษาพันธุชาจีน 5 สายพันธุ รวมกับการใชปุยอินทรีย 2 ชนิด รวมกับอัตราการใชปุย
อินทรีย ที่ 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตน เมื่อชาจีนมีอายุ 4 ป เพื่อเปรียบเทียบการใหผลผลิตชาจีนสดเปน
กิโลกรัมตอไร ผลปรากฏวา ชาจีนพันธุ No.7132 ที่ใชปุยหมักในอัตรา 3 กิโลกรัมตอตนใหผลผลิต  
ชาจีนสดสูงที่สุด คือ 1,583 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือ ชาจีนพันธุสุยเซียน ที่ใชปุยหมักในอัตรา 3
กิโลกรัมตอตน และชาจีนพันธุ No.12 ที่ใชปุยคอกในอัตรา 3 กิโลกรัมตอไร ใหผลผลิตชาจีนสดเทากับ
1,492.0 และ 1,470.0 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ และชาจีนพันธุหยวนจืออูหลงที่ใหปุยคอกในอัตรา  
0 กิโลกรัมตอตนใหผลผลิตชาจีนสดต่ําที่สุด คือ 886.20 กิโลกรัมตอไร (ตารางที่ 7) 32
ตารางที่  7  ผลรวม (Interaction) ของพันธุ ชนิดปุย และอัตราปุยที่มีตอขนาดความยาวกิ่ง            
และจํานวนกิ่งตอตนเมื่ออายุ 90 วัน และผลผลิตสดในปที่ 2, 3 และ 4
พันธุ ชนิดปุย
อัตราปุย
(กก./ตน)
ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสด
ปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 4
(กก./ไร)
หยวนจือ
อูหลง
ปุยคอก
0 21.73 w 3.90 lm 305.4 774.6 886.2 s
1 25.70 v 4.30 gh 335.8 892.3 991.1 pqr
2 29.82 t 4.40 fg 368.5 986.8 1,221 ijk
3 32.42 rs 4.40 fg 402.6 1,062 1,293 f-i
ปุยหมัก
0 22.10 w 3.80 m 309.6 782.1 891.1 s
1 27.30 u 4.43 efg 349.2 926.2 1,029 n-r
2 31.40 s 4.53 def 376.6 1,047 1,350 e-h
3 32.80 r 4.55 de 418.3 1,103 1,401 b-e
No. 12
ปุยคอก
0 42.80 no 4.40 fg 441.3 907.2 1,093 l-o
1 49.70 fghi 4.70 abc 492.4 1,186 1,181 jkl
2 51.23 bcde 4.70 abc 527.6 1,295 1,343 e-h
3 52.42 b 4.63 bcd 543.4 1,401 1,470 bcd
ปุยหมัก
0 41.60 op 4.33 gh 443.6 912.6 1,096 lmn
1 51.92 bc 4.80 a 498.2 1,208 1,238 ijk
2 55.08 a 4.80 a 536.3 1,375 1,268 hij
3 54.20 a 4.70 abc 558.9 1,419 1,433 b-e
No. 7132
ปุยคอก
0 39.30 q 3.98 kl 427.4 898.1 1,108 lmn
1 43.20 mn 4.40 fg 486.6 1,082 1,098 lmn
2 46.60 jk 4.60 cd 517.4 1,238 1,282 ghi
3 49.10 hi 4.60 cd 529.8 1,333 1,391 c-f
ปุยหมัก
0 39.10 q 4.13 ij 428.8 887.4 981.2 qrs
1 45.83 k 4.43 efg 493.6 1,098 1,163 klm
2 49.20 ghi 4.63  bcd 529.4 1,272 1,372 d-g
3 50.40 defg 4.63 bcd 536.2 1,369 1,583 a
HK.3
ปุยคอก
0 40.90 p 4.13 ij 426.8 889.4 1,078 m-q
1 44.50 l 4.33 gh 485.5 997.8 1,089 l-p
2 47.10 j 4.40 fg 516.8 1,227 1,225 ijk
3 50.20 efgh 4.33 gh 531.3 1,319 1,344 e-h
ปุยหมัก
0 41.15 p 4.13 ij 429.7 892.1 972.4 rs
1 44.20 lm 4.30 gh 496.2 1,066 1,158 klm
2 48.80 hi 4.43 efg 527.6 1,281 1,382def
3 51.60 bcd 4.35 gh 539.6 1,358 1,483 bc 33
ตารางที่ 7  (ตอ)
พันธุ ชนิดปุย
อัตราปุย
(กก./ตน)
ความยาวกิ่ง
(ซม.)
จํานวนกิ่ง
ตอตน
ผลผลิตสด
ปที่ 2
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 3
(กก./ไร)
ผลผลิตสด
ปที่ 4
(กก./ไร)
สุยเซียน
ปุยคอก
0 41.63 op 4.10 ijk 429.2 882.4 994.3 o-r
1 46.90 jk 4.23 hi 487.6 996.6 1,110 lmn
2 49.30 ghi 4.63 bcd 512.4 1,226 1,239 ijk
3 50.82 cdef 4.75 ab 533.2 1,328 1,411 b-e
ปุยหมัก
0 40.80 p 4.00 jkl 427.3 876.2 984.4 qrs
1 47.20 j 4.53 def 492.7 1,009 1,173 jklm
2 49.55 ghi 4.63 bcd 519.6 1,296 1,354 e-h
3 51.30 bcde 4.70 abc 547.2 1,388 1,492 ab
F - test   ** ** ns ns **
CV (%)   20.58 6.04 14.83 17.74 15.49
** แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ, ns ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ
ตัวอักษรที่แตกตางกันในแนวตั้ง มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบโดยวิธี LSD 34
ตารางที่  8  ขนาดความกวางและความยาวของใบชาจีนที่สมบูรณเต็มที่โดยเฉลี่ย
พันธุ ความกวางของใบ
(ซม.)
ความยาวของใบ
(ซม.)
หยวนจืออูหลง 3.17 8.40
No.12 4.83 10.17
No.7132 4.43 11.63
HK.3 4.47 10.23
สุยเซียน 5.10 11.8635
ตารางที่  9  แสดงอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธโดยเฉลี่ย และปริมาณน้ําฝนที่                                
ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม 2547
เดือน
อุณหภูมิ ความชื้นอากาศ
ปริมาณฝน
สูงสุด ต่ําสุด  (มิลลิเมตร)
ตุมแหง
8.00
ตุมเปยก
8.00
ตุมแหง
15.00
ตุมเปยก
15.00
มกราคม 24.24 9.41 10.93 9.84 24.02 21.14 0
กุมภาพันธ 28.44  10.88 13.85 12.24 23.14 20.23 0
มีนาคม 30.74 14.94 14.23 13.32 21.26 15.26 0
เมษายน 30.48 17.48 17.24 16.43 23.38 21.14 4.82
พฤษภาคม 27.68 19.43 19.43 18.81 22.41 19.34 14.77
มิถุนายน 26.82 19.06 20.15 19.22 24.26 21.23 16.41
กรกฎาคม 25.84 19.08 19.48 18.64 24.39 21.46 4.63
สิงหาคม 24.88 19.74 20.64 19.71 24.41 21.19 10.42
กันยายน 24.74 18.33 19.26 19.24 24.26 21.84 18.14
ตุลาคม 23.88 19.64 18.74 17.35 22.13 19.72 17.16
พฤศจิกายน 22.44 17.46 15.63 14.42 20.41 16.71 22.42
ธันวาคม 21.89 13.24 12.04 11.34 22.13 16.33 6.4
Total 312.07 198.69 201.62 190.56 276.2 235.59 115.17
Mean 26.01 16.56 16.8 15.88 23.02 19.63 9.6
ที่มา: สถานีตรวจอากาศเกษตร  ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง หมูที่ 10 ต.แมวิน อ.แมวาง            
จ.เชียงใหม (ความสูง 960 เมตรจากระดับน้ําทะเล) 36
ตารางที่  10  แสดงอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธโดยเฉลี่ย และปริมาณน้ําฝนที่                        
ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม 2548
เดือน
อุณหภูมิ ความชื้นอากาศ
ปริมาณฝน
สูงสุด ต่ําสุด  (มิลลิเมตร)
ตุมแหง
8.00
ตุมเปยก
8.00
ตุมแหง
15.00
ตุมเปยก
15.00
มกราคม 25.24 9.11 10.63 9.81 24.79 21.48 0
กุมภาพันธ 27.44 10.48 13.35 12.38 23.23 20.65 0
มีนาคม 30.42 12.61 14.84 13.97 21.53 15.45 0
เมษายน 30.18 17.42 17.86 16.82 23.98 21.26 2.13
พฤษภาคม 24.08 19.13 19.74 18.9 22.98 19.85 12.22
มิถุนายน 26.62 19.97 20.65 19.58 24.72 21.67 12.39
กรกฎาคม 25.24 19.03 19.93 18.89 24.89 21.78 3.31
สิงหาคม 24.38 19.43 20.12 19.21 24.79 21.48 10.36
กันยายน 24.41 18.89 19.85 19.12 24.10 21.01 17.52
ตุลาคม 23.53 19.39 18.47 17.51 22.88 19.45 16.61
พฤศจิกายน 22.33 17.28 15.70 14.87 20.57 16.90 20.46
ธันวาคม 22.69 13.15 12.20 11.68 22.28 16.71 8.05
Total 306.56 195.89 203.34 192.74 280.74 237.70 103.05
Mean 25.55 16.32 16.95 16.06 23.40 19.81 8.59
ที่มา: สถานีตรวจอากาศเกษตร  ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง หมูที่ 10 ต.แมวิน อ.แมวาง            
จ.เชียงใหม (ความสูง 960 เมตรจากระดับน้ําทะเล) 37
ตารางที่  11  แสดงอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธโดยเฉลี่ย และปริมาณน้ําฝนที่                        
ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม 2549
เดือน
อุณหภูมิ ความชื้นอากาศ
ปริมาณฝน
สูงสุด ต่ําสุด  (มิลลิเมตร)
ตุมแหง
8.00
ตุมเปยก
8.00
ตุมแหง
15.00
ตุมเปยก
15.00
มกราคม 25.85 10.29 15.70 14.87 20.57 16.90 0.00
กุมภาพันธ 28.64 12.75 18.47 17.51 22.88 19.45 0.00
มีนาคม 31.65 16.13 21.92 22.33 24.79 21.48 25.90
เมษายน 31.85 25.25 21.52 20.11 23.23 20.65 20.82
พฤษภาคม 26.50 17.13 21.67 20.92 25.18 21.95 11.80
มิถุนายน 26.10 20.12 22.30 21.63 24.50 22.66 13.99
กรกฎาคม 29.06 15.84 23.29 22.42 23.90 19.73 6.98
สิงหาคม 25.69 23.39 23.02 22.08 21.53 15.45 9.26
กันยายน 25.60 22.77 22.62 22.10 23.98 21.26 19.71
ตุลาคม 29.32 18.02 21.37 20.26 25.30 21.17 9.45
พฤศจิกายน 25.93 13.88 16.73 15.82 23.39 20.08 0.00
ธันวาคม 23.95 10.84 13.79 10.84 23.23 20.65 0.00
Total 330.14 206.41 242.40 230.89 282.48 241.43 117.91
Mean 27.51 17.20 20.20 19.24 23.54 20.12 9.83
ที่มา: สถานีตรวจอากาศเกษตร  ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง หมูที่ 10 ต.แมวิน อ.แมวาง            
จ.เชียงใหม (ความสูง 960 เมตรจากระดับน้ําทะเล) 38
ตารางที่  12  แสดงอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธโดยเฉลี่ย และปริมาณน้ําฝนที่                        
ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง ตั้งแตเดือนมกราคม – ธันวาคม 2550
เดือน
อุณหภูมิ ความชื้นอากาศ
ปริมาณฝน
สูงสุด ต่ําสุด  (มิลลิเมตร)
ตุมแหง
8.00
ตุมเปยก
8.00
ตุมแหง
15.00
ตุมเปยก
15.00
มกราคม 24.83 9.61 12.06 11.11 23.98 21.26 0.00
กุมภาพันธ 26.54 10.46 13.55 12.36 22.98 19.85 0.00
มีนาคม 31.47 13.82 17.18 15.81 24.72 21.67  0.00
เมษายน 31.63 17.52 21.92 18.35 30.28 19.87 15.60
พฤษภาคม 26.08 18.71 21.11 19.66 23.98 21.26 27.02
มิถุนายน 27.60 19.77 22.34 20.70 25.30 21.17 14.23
กรกฎาคม 25.97 19.61 21.60 19.89 23.39 20.08 6.88
สิงหาคม 26.37 19.39 21.52 20.11 23.23 20.65 8.88
กันยายน 26.45 18.97 20.55 19.63 25.18 21.95 16.88
ตุลาคม 24.81 16.98 19.52 18.66 24.50 22.66 16.29
พฤศจิกายน 22.87 14.60 17.20 16.30 23.90 19.73 9.31
ธันวาคม 23.11 12.29 13.94 13.06 21.53 15.45  0.00
Total 317.73 191.73 222.49 205.64 292.97 245.60 115.09
Mean 26.48 15.98 18.54 17.14 24.41 20.47 9.59
ที่มา: สถานีตรวจอากาศเกษตร  ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง หมูที่ 10 ต.แมวิน อ.แมวาง            
จ.เชียงใหม (ความสูง 960 เมตรจากระดับน้ําทะเล) 39
สรุปผลการวิจัย
การวิจัยเพื่อทดสอบพันธุชาจีนในพื้นที่สูง คือ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง อําเภอ    
แมวาง จังหวัดเชียงใหม ที่ความสูงของแปลงปลูก เทากับ 1,040 เมตรจากระดับน้ําทะเล พันธุชาจีน  
ที่ใชทดสอบ จํานวน 6 สายพันธุ พอสรุปไดวา พันธุชาจีนที่มีการเจริญเติบโตดีที่สุด คือ No.12 ทั้ง
ความยาวของกิ่ง  อัตราการแตกกิ่ง  ผลผลิตปที่ 2, 3 และ 4 สูงที่สุด คือ 505.2  1,213  และ 1,265
กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ (ตารางที่ 1) สวนชนิดของปุยอินทรียตอการเจริญเติบโตในดานความยาวกิ่ง
อัตราการแตกกิ่ง  และผลผลิตชาจีนสดปที่ 2, 3 และ 4 สูงที่สุด คือ 472.9  1,128  และ 1,240 กิโลกรัม
ตอไรตามลําดับ (ตารางที่ 2) และอัตราของปุยอินทรียที่ดีที่สุดที่ตอบสนองตอการเจริญเติบโตทางดาน
ความยาวกิ่ง  อัตราการแตกกิ่ง  ผลผลิตปที่ 2, 3 และ 4 คือ 3 กิโลกรัมตอตน (ตารางที่ 3) พันธุชาจีนที่
ตอบสนองตอชนิดปุยอินทรียดีที่สุด คือ ชาจีนพันธุ No.12 ตอบสนองตอปุยหมักดีที่สุด (ตารางที่ 4)
พันธุชาจีนที่ตอบสนองตอการใชอัตราปุยอินทรีย 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอไร คือ ชาจีนที่พันธุ No.12
ตอบสนองตอการใชปุยอินทรียดีที่สุดที่ระดับ 3 กิโลกรัมตอตน (ตารางที่ 5) ปุยหมักเปนปุยอินทรียที่
ตอบสนองตออัตราปุยที่ 0 : 1 : 2 : 3 กิโลกรัมตอตนดีที่สุด คือ อัตราที่ 3 กิโลกรัมตอตน (ตารางที่ 6)
และพันธุของชาจีนที่ตอบสนองตอการใชปุยหมักและปุยคอกดีที่สุด ที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน คือ พันธุ
No.7132   สุยเซียน  HK.3  No.12  และ  หยวนจืออูหลง  ตามลําดับ  กลาวโดยสรุป คือ ชาจีนทั้ง 4
สายพันธุ สามารถปลูกบนที่สูง (1,000 เมตรขึ้นไป) ใหไดผลผลิตชาจีนสดไดดี คือ พันธุ No.7132  สุย
เซียน  HK.3  และ No.12  ไมคอยแตกตางกันมากนัก สวนปุยอินทรียก็ใชไดผลดีทั้งปุยคอกและปุย
หมัก โดยเฉพาะที่อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ทุก ๆ 4 เดือน  สวนชาจีนสายพันธุหยวนจืออูหลงนั้น ถึงแม
จะใหผลผลิตคอนขางต่ํากวาทั้ง 4 สายพันธุ แตมีคุณสมบัติที่ดีเดนเปนพิเศษ ก็คือ เรื่องของคุณภาพ
ของการแปรรูปชาแลวไมวาจะเปนชาเขียว หรือชาอูหลง จะมีกลิ่นและรสชาติดีที่สุด เปนที่ตองการของ
ผูบริโภคและจําหนายไดในราคาที่สูงกวาสายพันธุอื่น ๆ ประมาณ 25-30 % ดังนั้นหากจะแนะนําให
เกษตรกรปลูกชาจีนเพื่อการคาบนพื้นที่สูงแลว ขอแนะนําอยู 2 สายพันธุ คือ No.12 ที่มีการ
เจริญเติบโตคอนขางดี และใหผลผลิตชาจีนสดคอนขางสูง และพันธุหยวนจืออูหลง ถึงแมจะมีการ
เจริญเติบโตชา และผลผลิตตอไรต่ํากวาก็จริง แตคุณภาพการแปรรูปคอนขางดี มีกลิ่นหอม ราคาดี เปนที่
ตองการของผูบริโภค  40
ขอแนะนําในการผลิตชาจีน
การผลิตชาจีนเพื่อการคา เพื่อใหไดผลิตภัณฑชาที่มีคุณภาพ และเปนที่ตองการของผูบริโภค
นั้น ควรปลูกในพื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ําทะเล ตั้งแต 1,000 เมตรขึ้นไป ถาจะใหดีที่สุดควรสูงจาก
ระดับน้ําทะเล 1,400 เมตรขึ้นไป  ดินที่ปลูกควรเปนดินรวนปนทรายที่มีอินทรียวัตถุสูง เชน ในประเทศ
ไตหวัน ดินที่ปลูกชาที่มีคุณภาพสวนใหญเปนดินทรายแดง คอนไปทางดินเหนียวเล็กนอย ซึ่งเหมาะกับ
การปลูกชา และควรมีคาความเปนกรดเปนดางที่ระหวาง 4.5 – 5.5 (บนที่สูงของประเทศไทยเฉลี่ยแลว
อยูประมาณ 4.2 – 5.8) ซึ่งก็เหมาะสําหรับการปลูกชา แตดินสภาพนี้จะไมเหมาะสําหรับการปลูกสม
1.  การเลือกและเตรียมพื้นที่
ขั้นตอนการเลือกพื้นที่และเตรียมพื้นที่เปนขั้นตอนแรก ที่สามารถบงชี้ไดวาการปลูกสรางสวน
ชา จะประสบความสําเร็จหรือไม ถาหากสามารถเลือกพื้นที่ไดเหมาะสม และมีการเตรียมพื้นที่ไดดี
ยอมแสดงใหเห็นวาสวนชานั้นมีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จในโอกาสตอไป ดังนั้น ขั้นตอนนี้ จึงจัดได
วาเปนขั้นตอนที่สําคัญยิ่งขั้นตอนหนึ่ง
การเลือกพื้นที่  สวนใหญพื้นที่ปลูกชาในประเทศไทยจะเปนแหลงปลูกตามภูเขาทางภาคเหนือ
ซึ่งเปนแหลงตนน้ําลําธาร การเลือกพื้นที่จึงตองคํานึงถึงการอนุรักษสภาพปาและสภาพแวดลอมดวย
พื้นที่ที่เหมาะสําหรับการปลูกชาควรเปนแหลงที่มีความชื้นในอากาศสูง มีอุณหภูมิต่ํา ควรมีปริมาณ
น้ําฝนไมนอยกวา 1,800 มม./ป และกระจายสม่ําเสมอ พื้นที่ควรมีความลาดเอียงนอยกวา 45 องศา
ดินควรเปนดินรวนมีปริมาณอินทรียวัตถุสูง คาความเปนกรด-ดาง (pH) ประมาณ 4-6
จะเห็นไดวา พื้นที่ปลูกชาทางภาคเหนือของประเทศไทยในสภาพความเปนจริงยังคงไมคอยมี
ความเหมาะสมกับพืชชนิดนี้นัก แตเนื่องจากชาเปนพืชที่มีตนกําเนิดจากทางตอนบนของภาคเหนือมี
การปรับตัวใหสามารถเขากับพื้นที่มาเปนเวลานาน ดังนั้น ชาจึงเจริญเติบโตและใหผลผลิตได ทาง
ตอนบนของประเทศไทยเปนพื้นที่ ที่เกิดจากการสลายตัวของภูเขาหินปูนเปนสวนใหญ คาความเปน
กรด-ดาง (pH) จึงอยูในชวงเหมาะสม แตปริมาณน้ําฝนทางภาคเหนือมีปริมาณนอยและมีชวงแลง
นานติดตอกันหลายเดือน จึงทําใหผลผลิตชาต่ํา การเลือกพื้นที่ปลูกชาจึงควรคํานึงถึงระบบการ
ชลประทานในชวงฤดูแลงดวย
การเตรียมพื้นที่ เปนการปรับแตงพื้นที่ใหเหมาะสมในการปลูกสรางสวนชา ซึ่งการเตรียมพื้นที่
จะตองคํานึงถึงสภาพความตองการของพืชและความสะดวกในการจัดการดูแลรักษาสวนชาดวย ใน
ที่นี้จะขอแยกออกเปนสองกรณี คือ การเตรียมพื้นที่สําหรับปลูกสรางสวนชาใหม และการเตรียมพื้นที่
ในการปรับปรุงสวนชาเกา 41
1. การเตรียมพื้นที่สําหรับการปลูกสรางสวนชาใหม เมื่อสามารถเลือกพื้นที่ไดแลวตองเตรียม
พื้นที่โดยทําการแผวถางวัชพืชและไมยืนตนที่มีขนาดเล็กออก สวนไมยืนตนขนาดใหญที่มีระบบรากลึก
และแข็งแรงควรเก็บเอาไวสําหรับเปนไมบังรมชาในชวงฤดูรอน และระบบรากจะชวยปองกันการ
พังทลายของดินในชวงที่ระบบรากของชายังไมแข็งแรง ในการเตรียมพื้นที่ใหม ควรทําการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมดวยการปลูกชาแบบขั้นบันไดซึ่งการจัดทําขั้นบันไดอาจทําขึ้นกอนการกําหนดหลุมปลูก
หรือจัดทําขึ้นหลังจากปลูกชาแลวก็ได กอนทําขั้นบันไดจะตองกําหนดแนวระดับในแนวขวางความลาด
ชันของพื้นที่ เมื่อไดแนวระดับแลวจึงขุดเปนขั้นบันได (ควรกวางอยางนอย 180 เซนติเมตร ระยะ
ระหวางขั้นบันไดขึ้นอยูกับความลาดชันของพื้นที่) ถาหากตองการทําขั้นบันไดหลังจากปลูกชาแลว
กระทําไดโดย เมื่อเตรียมพื้นที่เสร็จและกําหนดหลุมปลูกแลว จะตองขุดหลุมปลูกใหลึกประมาณสอง
เทาของปกติ และเมื่อปลูกระดับคอดินของตนกลา คือ ระดับของผิวขั้นบันไดที่จะทําภายหลัง ความ
ลาดชันภายในขั้นบันไดแตละขั้นไมควรมากกวา 5 เปอรเซ็นต (เพราะทําใหน้ําไหลแรงเกินไปอาจทําให
ขั้นบันไดพังไดงาย)
2. การเตรียมพื้นที่สําหรับปรับปรุงสวนชาเกา สวนใหญมักเปนการปลูกแซม ซึ่งการปลูกแซม
ควรพิจารณาดวยวาชาที่มีอยูเดิมเหมาะสมที่จะเก็บไวหรือไม เพราะบางครั้งอาจเปนแหลงสะสมโรค
การปลูกชาใหมแซมในสวนชาเกา หลุมปลูกควรขุดใหกวาง เพื่อปองกันการแยงอาหารขณะที่ชาปลูก
ใหมยังเจริญเติบโตไมเต็มที่ และควรปลูกแซมใหเปนแถวเพื่อใหสามารถจัดการตาง ๆ ในสวนชาไดงาย
2.  การเตรียมหลุมปลูกชา
เมื่อปลูกและเตรียมพื้นที่ปลูกชาไดแลว ขั้นตอนตอไป คือการกําหนดระยะปลูก และการ
เตรียมหลุมปลูก ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้
1. การกําหนดระยะปลูก การกําหนดระยะปลูกชาขึ้นอยูกับขนาดของชา การจัดการในสวน
ชา และความอุดมสมบูรณของพื้นที่ สําหรับในที่นี้จะขอกลาวเฉพาะการปลูกชาในกลุมชาจีนเปนหลัก
สําหรับพื้นที่ที่ปลูกที่เปนพื้นราบ การกําหนดระยะปลูกบนพื้นราบโดยพื้นราบโดยทั่วไประยะ
ปลูกที่เหมาะสมงายตอการดูแลรักษา และสามารถใหผลผลิตไดเร็ว คือ ระยะระหวางแถว 150 ซม.
ระยะระหวางตน 30-40 ซม. หรืออาจปลูกเปนแถวคูสลับฟนปลา ระยะระหวางตนแบบแถวคู 40-45
ซม. ระยะระหวางแถว (แตละคู) 30-50 ซม. ระยะระหวางคู 150 ซม. (การปลูกแบบนี้ จะใหผลผลิตไดเร็ว
กวา แตใชจํานวนตนกลามากกวา)
สวนพื้นที่ปลูกที่เปนไหลเขาที่มีการทําขั้นบันได ระยะระหวางตนสามารถใชระยะเดียวกันได
แตระยะระหวางแถวขึ้นอยูกับระยะหางของขั้นบันไดเปนหลัก (ปกติมักใชระยะหางของขั้นบันได
ประมาณ 2 เมตร) ถาหากเปนการปลูกเปนแถวคูขนานของขั้นบันไดจะตองกวางอยางนอย 230 ซม. 42
3.  การยายปลูก
การปลูกชาเพื่อใหไดตนชาที่มีความสม่ําเสมอ งายตอการควบคุมทรงพุม นิยมใชตนกลาที่ได
จากการปกชํา กลาชาจากการปกชําที่เหมาะสมตอการยายปลูก จะใชตนกลาอายุประมาณ  9-12
เดือน (ปกชําประมาณเดือนตุลาคม) ทั้งนี้จะตองพิจารณาขนาดของตนกลาดวย โดยตนกลาที่จะยาย
ปลูกตองมีความแข็งแรงดี สวนโคนตนควรเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลหรือสีเทา ตาตามซอกใบจะตองเตง
เต็มที่
- หลังจากยายกลาลงปลูกในหลุมที่เตรียมไว ทําการตัดยอดที่ระดับความสูง ประมาณ
10-15 ซม.
- ควรคลุมโคนตนกลาดวยฟางหรือเศษวัชพืช เพื่อรักษาความชื้นในดินหลังการยายปลูก
- การใหรมเงา การใหตนกลาไดรับรมเงาในระยะแรกเปนสิ่งที่จําเปนมาก หลังจากยายปลูก
ระบบรากของตนกลายังไมแข็งแรง การปลอยใหตนกลาไดรับแสงแดดจัดโดยตรง อาจทําใหตนกลา
ตายเนื่องจากการสูญเสียน้ําไดงาย เพื่อปองกันการสูญเสียดังกลาว จึงควรปลูกไมบังรมชนิดที่เปน
ไมลมลุก โตไดเร็ว กอนการยายปลูกประมาณ 1-2 เดือน พืชบังรมที่เหมาะสมในระยะแรก เชน ขาว
ฟาง ขาวโพด ถั่วมะแฮะ เปนตน
4.  การจัดทรงพุมและตัดแตงชา
การตัดแตงเปนขั้นตอนที่สัมพันธโดยตรงกับปริมาณ และคุณภาพผลผลิตชา การตัดแตงทรง
พุมที่เหมาะสมจะทําใหชาสามารถใหผลผลิตไดนาน และสะดวกตอการดูแลรักษาสวน ในที่นี้จะขอ
แบงการตัดแตงออกเปนสองลักษณะ คือ การตัดแตงเพื่อควบคุมทรงพุมของชาปลูกใหม (Training)
และการตัดแตงทรงพุมเพื่อเพิ่มผลผลิต (Pruning)
การจัดทรงพุมใหม (Training) เปนการตัดแตงเพื่อบังคับทรงพุมของชาใหเตี้ย และ
เจริญเติบโตทางดานขาง การตัดแตงในลักษณะนี้กระทําครั้งแรกหลังการยายปลูก โดยตัดยอดตนกลา
ที่ระดับความสูง 15-20 ซม. (ในชวงฤดูฝนสําหรับประเทศเขตรอน และในชวงฤดูใบไมผลิสําหรับ
ประเทศเขตหนาว) หลังจากตัดยอดครั้งแรกหลังยายปลูก จะปลอยใหตนชามีการเจริญเติบโตไดอยาง
เต็มที่ สําหรับในแหลงปลูกในตางประเทศซึ่งมีสี่ฤดู หลังจากยายปลูกจะปลอยใหตนกลามีการ
เจริญเติบโตอยางเต็มที่ และเริ่มควบคุมทรงพุมอีกครั้งในปที่ 2
เมื่อตนชาอายุ 2 ป จึงตัดยอดเพื่อควบคุมทรงพุมที่ระดับความสูงประมาณ 25-30 ซม.
(กระทําในชวงเดียวกันกับการคุมทรงพุมครั้งแรก) 43
เมื่อตนชาอายุ 3 ป จึงตัดยอดเพื่อควบคุมทรงพุมที่ระดับความสูงประมาณ 35-40 ซม.
(กระทําในชวงเดียวกันกับการควบคุมทรงพุมครั้งที่ 2 หรือเมื่อชาอายุ 2 ป) โดยปลอยใหชามีการแตก
กิ่งขางไดเต็มที่ทรงพุมชาจะเริ่มชนกัน
เมื่อตนชาอายุ 4 ป จึงตัดยอดเพื่อควบคุมทรงพุมที่ระดับเก็บผลผลิตความสูงประมาณ 40-45
ซม. เมื่ออายุไดประมาณ 4 ป สามารถเก็บยอดชาเพื่อแปรรูปเปนชาชนิดตาง ๆ ได
การตัดแตงทรงพุม (Pruning) การตัดแตงทรงพุมสวนใหญกระทําเพื่อชวยเพิ่มผลผลิต (เพิ่ม
พื้นที่ใหผลผลิต) เปนการรักษาระดับความสูงใหเหมาะสมตอการจัดการ ชวยลดการระบาดของโรค
และแมลง ชวยเพิ่มคุณภาพของยอดชาสด
การตัดแตงทรงพุม แบงออกเปน 5 ระดับ ตามความรุนแรงของการตัดแตง ดังนี้
- Skiffing  เปนการตัดแตงใหพุมชาอยูในแนวระดับเก็บ
- Light Pruning  เปนการตัดแตงเพื่อเพิ่มกิ่งกานและทําความสะอาดทรงพุม
- Medium Pruning  เปนการตัดแตงเพื่อลดระดับความสูงของทรงพุมชา
- Heavy Pruning  เปนการตัดแตงเพื่อจัดโครงสรางทรงพุมใหม
- Collar Pruning  เปนการตัดแตงใหไดตนใหม
หลังจากจัดทรงพุมใหมในชาปลูกใหมเสร็จ (ชาจะมีอายุประมาณ 4 ป) ระดับความสูงของ
ทรงพุมประมาณ 40-45 ซม. (ตัดแตงกอนฤดูหนาว) เมื่อชาพนการพักตัว จะเริ่มแตกยอดใหม
(ประมาณปลายเดือนมีนาคม ในประเทศเขตหนาว) ปลอยใหยอดชามีการเจริญเติบโตอยางเต็มที่ เมื่อ
ถึงชวงประมาณกลางเดือนเมษายน – ตนเดือนพฤษภาคม จึงทําการเก็บยอดชา ยอดชาที่ไดเรียกวา
ชาหัวป หรืออันดับที่ 1 ในประเทศญี่ปุน ในแตละปจะเก็บยอดชาได 3 ครั้ง หลังจากเก็บยอดชาครั้งที่ 3
(ประมาณปลายเดือนสิงหาคม – ตนเดือนตุลาคม) ระดับความสูงของทรงพุมชาจะประมาณ 46-51
ซม. จึงปลอยใหชามีการแตกยอดใหมและเจริญเติบโตอยางเต็มที่ กอนชาจะพักตัวจึงทําการตัดทรงพุม
ชาใหเหลือความสูงประมาณ 50-55 ซม. เรียกการตัดแตงนี้วา Light Skiffing (การตัดแตงนี้เปนการ
ตัดแตงประจําทุกป) ทุก ๆ ป ทรงพุมชาจะสูงขึ้นประมาณ 10 ซม. ในทุก ๆ 3 ป (ความสูงทรงพุมจะ
ประมาณ 70-80 ซม.) จึงตัดทรงพุมใหเตี้ยลงมาใหเหลือระดับความสูงประมาณ 60 ซม. การตัดแตงนี้
เรียกวา Deep Skiffing
เมื่อตนชาใหผลผลิตติดตอกันเปนเวลานานหลายป และผานการตัดแตงกิ่งหลายครั้ง จะมีกิ่ง
สั้น ๆ เนื่องจากการตัดแตงทุกครั้งจะตัดเหนือระดับเดิมเปนจํานวนมาก และเนื่องจากเกิดความ
หนาแนนของกิ่งสั้น ๆ (ตีนกา) มากเกินไป ทําใหการแตกยอดใหมของชาลดลง ดังนั้นจึงควรทําการตัด
กิ่งเหลานี้ทิ้ง พรอมทั้งตัดใหเกิดระดับการใหผลผลิตขึ้นใหม ซึ่งกระทําไดโดยการตัดทรงพุมที่ระดับ
ความสูงประมาณ 30-50 ซม. การตัดแบบนี้เรียกวา Medium Pruning (ปกตินิยมกระทําทุก 4-5 ป) 44
และเมื่อชามีการใหผลผลิตติดตอกันเปนเวลานาน จะทําใหตนชาทรุดโทรม ใหผลผลิตลดลง มี
การแตกกิ่งแขนงลดลง จึงสมควรทําการตัดแตงเพื่อจัดกิ่งหลักใหม โดยตัดแตงที่ระดับความสูง
ประมาณ 15 ซม. และปลอยใหตนชามีการแตกกิ่งใหม เรียกการตัดแตงนี้วา Heavy Pruning ปกติ
นิยมกระทําทุก 7-10 ป
สวนการตัดแตงชาที่มีความทรุดโทรมมาก เพื่อเปนการทําหนุมสาวใหม (rejuvinility) นั้น ไมมี
เวลากําหนดที่แนนอน ขึ้นอยูกับสภาพของตนชาเปนหลัก สําหรับชาที่ขาดการดูแลรักษาจะทรุดโทรม
เร็วกวาชาที่มีการดูแลรักษาดี ซึ่งจําเปนตองทําหนุมสาวใหม (rejuvinility) กอน โดยการตัดชาทั้งตนที่
ระดับคอดิน และปลอยใหมีการแตกกิ่งตั้งทรงพุมใหม ซึ่งใชเวลาประมาณ 3 ป จึงจะเริ่มใหผลผลิตได
ใหม การตัดแตงแบบนี้ เรียกวา Collar Pruning
5.  การใสปุย
การบํารุงรักษาตนชาเพื่อใหมีอายุใหผลผลิตไดนาน การใหปุยมีความจําเปนมากควรเนนให
ปุยคอก ปุยหมักในปริมาณมากในทุก ๆ ป โดยใหปุยหมักจากเปลือกถั่วเหลือง เปลือกถั่วลิสง กาก
ขาวโพด หรือวัสดุที่หาไดงายในทองถิ่น ใหอัตรา 6-10 ตันตอไรตอป แบงใส 2 ครั้งตอป ในชวงตนฤดู
ฝนและหลังทําการตัดแตงใหญในชวงตนฤดูหนาวซึ่งเปนชวงตนชาพักตัวอีกครั้ง
ในสวนของการใสปุยเคมี ในไตหวันใหปุยสูตร 20-5-5 โดยหลังจากทําการเก็บผลผลิตทุกครั้ง
และตัดแตงกิ่งชาแลว เวนระยะเวลาประมาณ 15 วัน จึงทําการใสปุยประมาณตนละ 30 กรัมเพราะ
ชวงนี้ตนชาจะสรางรากฝอยบริเวณทรงพุมจํานวนมาก แสดงถึงความตองการอาหารของ ตนชานั่นเอง
หลังจากนั้นอีกประมาณ 10 วัน ใสปุยอีกครั้งอัตราเทากับครั้งแรก ฉะนั้นรวมระยะเวลาของการใส
ปุยเคมีจํานวนสองครั้งเปนเวลา 25 วัน ซึ่งจะเหลือระยะเวลาประมาณ 20-25 วัน กอนการเก็บเกี่ยว
ผลผลิตใบชา จะไมมีการใหปุยและฉีดพนสารเคมีตาง ๆ ใหกับตนชา เพราะจะทําใหใบชาดูดซับกลิ่น
ของสารตาง ๆ เหลานั้นไว เมื่อทําการแปรรูปชากลิ่นของสารตาง ๆ ดังกลาวจะทําใหชาเสียความหอม
และรสชาติของชาไป
สําหรับการใหปุยเคมีแกตนชาของเกษตรกรในประเทศไทย สามารถปรับเปลี่ยนสูตรปุยเพื่อ
ใหเหมาะกับชนิดปุยที่เกษตรกรใชอยูทั่วไป คือ ใชสูตร 15-15-15 ผสมกับสูตร 46-0-0 ในอัตราสวน  
1 ตอ 1 สวน ใหตามอัตราและระยะเวลาที่กลาวขางตน อนึ่ง การใหปุยที่มีปริมาณธาตุไนโตรเจนสูง
เกินไปจะทําใหกลิ่นหอมของชาที่แปรรูปไดลดลง ใบชาที่แปรรูปแลวมีสีดํา โดยจะเหมาะสําหรับการทํา
ชาเขียวมากกวา 45
6.  การใหน้ํา
การปลูกชาของเกษตรกรรายยอยทางภาคเหนือของประเทศไทย สวนใหญมักไมคํานึงถึง
ระบบการใหน้ําแกตนชาในแปลงปลูก ซึ่งในความเปนจริงแลว ระบบการชลประทานแกพืชในแปลง
ปลูกควรตองคํานึงถึงตั้งแตเริ่มแรก ทั้งนี้เนื่องจากการปลูกพืชโดยไมมีระบบชลประทานที่ดี มักประสบ
ปญหาการขาดน้ําของชาในระยะชายังมีอายุนอย และในชวงฤดูแลง ถึงแมวาชาจะเปนพืชที่คอนขาง
ทนทานตอสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสมไดดี แตการเกิดการขาดน้ําในชวงตนกลาจะทําใหตนกลาชา
ตายได หรืออาจสงผลใหชาชะงักการเจริญเติบโต สวนในสวนชาที่ใหผลผลิตแลว สภาพการขาดน้ําจะ
ทําใหผลผลิตชาลดลงได
การใหน้ําแกแปลงปลูกกระทําไดหลายวิธี เชน การปลอยน้ําทวมแปลง การใหน้ําตามรอง
ระหวางแถวปลูก หรือ การปลอยใหน้ําไหลตามความลาดเอียงของขั้นบันได (ไมควรเกิน 5 เปอรเซ็นต)
การใหน้ําดวยระบบพนฝอย หรือการใหน้ําดวยระบบน้ําหยด
ในสภาพแปลงปลูกในพื้นที่ ๆ มีขอจํากัดเกี่ยวกับปริมาณน้ําในชวงฤดูแลง การใหน้ําแกแปลง
ปลูกจําเปนตองคํานึงถึงความสูญเสียน้ําจากการระเหยจากผิวดินโดยตรง ซึ่งสวนใหญเกิดจากการ
แผดเผาของแสงแดดที่เกิดตอผิวดินโดยตรง หรือการที่มีกระแสลมแรงก็สามารถทําใหเกิดการสูญเสีย
ความชื้นในดินไดทั้งสิ้น ดังนั้นในสภาพพื้นที่ลักษณะดังกลาว การใหน้ําแกแปลงปลูกควรกระทําควบคู
ไปกับการคลุมพื้นที่ดวย รูปแบบที่เหมาะสมสําหรับการใหน้ําในสภาพพื้นที่ดังกลาวคือการใหน้ําแบบ
น้ําหยด หรือการใชระบบพนฝอยในระดับต่ํา ๆ ทั้งนี้เพื่อลดการสูญเสียความชื้นจากกระแสลม สําหรับ
พื้นที่ปลูกที่ไมมีกระแสลมแรง และทรงพุมชาสามารถปกคลุมพื้นที่ไดมาก การใหน้ําโดยใชระบบพน
ฝอย นาจะเปนวิธีที่สะดวกกวาวิธีการอื่น ๆ เพราะนอกจากตนชาจะไดรับความชื้นไดอยางสม่ําเสมอ
แลว การใหน้ําวิธีนี้สามารถเพิ่มความชื้นสัมพัทธในอากาศไดดีอีกดวย แตการใหน้ําวิธีการอื่น ๆ จะทํา
ใหสิ้นเปลืองน้ําโดยเฉพาะฤดูแลง พื้นที่สูงสวนใหญจะขาดแคลนน้ํา ดังนั้น การใหน้ําโดยวิธีน้ําหยด
ประหยัดน้ําที่สุด ซึ่งเกษตรกรก็ตองพิจารณาตามความเหมาะสมระหวางปริมาณน้ําที่มีอยูและปริมาณ
พื้นที่แปลงปลูกชาตองเหมาะสมกัน
7.  การคลุมดิน
การคลุมดินสวนใหญนิยมกระทําเพื่อรักษาความชื้นในดิน โดยเฉพาะในชวงฤดูแลง การคลุม
ดินยังมีประโยชนในแงของการลดปริมาณวัชพืชดวย นอกจากนี้วัสดุคลุมดินยังชวยใหอุณหภูมิของดิน
ไมแตกตางกันมาก ซึ่งเปนที่ตองการของชา และถาหากใชวัสดุคลุมที่สามารถยอยสลายได ก็จะ
สลายตัวเปนอาหารของชาได ตอไป แตวัสดุที่ใชคลุมดินควรเปนวัสดุที่ทางาย ราคาถูก และควร
สามารถขนสงไดสะดวก อยูใกลแหลงปลูกชา เชน แกลบดิบ เปลือกถั่วเหลือง เปลือกถั่วลิสง หรือฟาง
ขาว แลวถาหากวัสดุคลุมยอยสลายไปแลว หรือกําลังยอยสลายไปเปนปุยในดินตอไปก็ควรจะมีการใส46
เพิ่มเติมคลุมทับของเดิมอีก จะเปนการเพิ่มอินทรียวัตถุและการรักษาความชื้นในดินตลอดจนการ
ควบคุมวัชพืชไปดวย
8.  การใหรมเงา
ในแปลงปลูกในเขตรอนที่มีความเขมแสงสูง การใหรมเงาแกแปลงปลูกเปนทางหนึ่งที่จะ
สามารถลดสภาพเครียดของชาอันเนื่องมาจากความเขมแสงที่สูงเกินความตองการของพืชได (โดย
ปกติระดับความเขมแสงที่เหมาะสมสําหรับชา ประมาณ 24,000 ลักซ) รมเงาสามารถแบงไดออกเปน
สองประเภท คือ รมเงาถาวร อันไดแกพืชรมเงาชนิดตาง ๆ และรมเงาชั่วคราว สวนใหญเปนรมเงาที่
มนุษยสรางขึ้นเพื่อวัตถุประสงคตาง ๆ
ขอดีและขอเสียของการใชไมบังรม
การใหรมเงาแกแปลงปลูกชาโดยใชไมบังรม สามารถกอใหเกิดประโยชนและโทษแก แปลง
ปลูกชาไดซึ่งจะแยกออกใหเห็น ดังนี้
ขอดีของการปลูกไมบังรมในแปลงปลูกชา
1. สามารถชวยปรับสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของชาได เชน สามารถ
ชวยลดระดับความเขมแสงใหมีระดับที่เหมาะสม สามารถรักษาความชื้นสัมพัทธในแปลงปลูกชาได
ดีกวาการปลูกชาในสภาพกลางแจง
2. พืชรมเงาบางชนิดสามารถเพิ่มธาตุอาหารในแปลงปลูกชาได โดยเฉพาะพืชรมเงาในพืช
ตระกูลถั่ว ซึ่งสามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศใหอยูในรูปที่ชาสามารถดึงไปใชได การใชตนซิลเวอรโอค
เปนพืชรมเงา ใบแกของพืชชนิดนี้เมื่อสลายตัวสามารถปลดปลอยธาตุอลูมิเนียมออกมาเปนประโยชน
แกชาไดดี
3. ไมบังรมสามารถใชเปนเชื้อเพลิงในการแปรรูปชาได
4. ไมบังรมสามารถเพิ่มรายไดแกเกษตรกรผูปลูกชาได มีพืชรมเงาหลายชนิดที่สามารถสราง
รายไดเสริมแกผูปลูกชา เชน การปลูกพืชตระกูลมะแขวน (Zanthoxylum spp.) เปนพืชแซมหรือพืชรม
เงาแกแปลงปลูกชา โดยสามารถเพิ่มรายไดแกเกษตรกรไดดี (ประมาณ 2,000-3,000 บาท/ตน/ป)
5. การใหรมเงาสามารถเพิ่มคุณภาพของวัตถุดิบได
ขอเสียของการปลูกไมบังรมในแปลงปลูกชา
1. ไมบังรมแกงแยงอาหารจากตนชา
2. กิ่งและลําตนที่เกิดการหักโคนอาจทําความเสียหายแกตนชาที่ปลูกได
3. พืชรมเงาบางชนิด อาจเปนแหลงสะสมของโรคและแมลงได
ดังไดกลาวแลววา  การใหตนชาไดรับสภาพรมเงาจะสามารถชวยเพิ่มคุณภาพของยอดชาสด
ได ทั้งนี้เพราะการใหตนชาไดรับรมเงา ปริมาณคลอโรฟลลในใบจะยังเหลืออยูในปริมาณมาก 47
เนื่องจากไมถูกทําลายจากแสง ชาที่ไดจากการแปรรูปดวยยอดชาที่มีปริมาณคลอโรฟลลสูง จะใหน้ํา
ชาของชาเขียวที่มีสีเขียวเขม นอกจากนี้การไดรับสภาพรมเงาจะทําใหปริมาณโปรตีนและกรดอะมิโน
เหลือสะสมในยอดมาก ทําใหชาที่แปรรูปมีรสชาติกลมกลอมกวาชาที่ปลูกในสภาพกลางแจง แต
อยางไรก็ดี การใหตนชาไดรับรมเงาทึบตอเนื่องกันเปนเวลานาน จะทําใหตนชามีการสะสมอาหารใน
กิ่งลดลง ซึ่งสงผลโดยรวมใหตนชาออนแอ
9.  การเก็บเกี่ยวผลผลิตชา
การเก็บเกี่ยวผลผลิตชาที่ถูกตอง  ควรปฏิบัติดังนี้
1. เก็บใบชาที่มี 1 ยอด กับ 2 ใบ หรือ 1 ยอด กับ 3 ใบ
2. ยอดชาไมควรออนหรือแกเกินไป ยอดที่ออนจะทําใหไดรสชาติขม ฝาด และจะไมมีกลิ่น
หอม ใบชาใบที่ 3 ไมควรแกเกินไป สัมผัสดูมีความออนนุมหรือสังเกตไดดวยสายตา ซึ่งใบสวนนี้จะให
กลิ่นหอมแตทั้งนี้หมายถึงตองมีใบและยอดดังกลาวประกอบกันทั้งหมด หากเก็บใบที่แกมากเมื่อคั่วจะ
ทําใหใบที่คั่วออกมาแหง ใบกรอบแตกงาย และมีสีเหลือง หรือหากจะใชอายุใบชาเปนเกณฑใหนับ
จํานวนวันหลังการตัดแตงกิ่ง โดยพันธุเบอร 12 มีอายุ 45-47 วัน ในพื้นที่ต่ํากวา 1,000 เมตรจาก
ระดับน้ําทะเล พื้นที่สูงกวา 1,000 เมตร ประมาณ 50-55 วัน สวนพันธุกานออนพื้นที่ต่ําประมาณ 47-50
วัน พื้นที่สูงประมาณ 60-65 วัน (ขึ้นอยูกับฤดูและสภาพอากาศในแตละชวง)
3. เก็บชาโดยใชความประณีตและนุมนวล เมื่อเก็บไดจํานวนประมาณ 4-5 ยอดควรรีบใส
ลงในตะกราเก็บชา ไมควรเก็บหรือกําไวในอุงมือนาน เพราะจะทําใหชาเสียหาย
4. ไมควรเก็บยอดชาในขณะที่ยังมีน้ําคางหรือน้ําฝนเกาะใบชา ตองรอใหน้ําที่เกาะใบชาแหง
เสียกอน จึงทําการเก็บใบชา
5. ในวันที่มีฝนตกควรงดการเก็บชา หากจะเก็บตองรอฝนหยุดและใบชาแหงดีแลว
6. หากมีฝนตกขณะเก็บใบชาและใบชาเปยกมาก นําใบชามาผึ่งในรมใชพัดลมเปาเพื่อไล
ความชื้นในใบชาเสียกอน
7. จัดสงใบชาที่ทําการเก็บไปยังโรงงานเพื่อทําการผึ่งแดดทุก 1.30 ชั่วโมง ไมควรเก็บใบชา
คางไวในตะกราเกิน 2 ชั่วโมง ควรแบงชวงการสงผลผลิตไปโรงงาน ดังนี้
- เก็บชาเมื่อเวลาประมาณ 09.00 น. สงโรงงานครั้งแรกเวลา 10.30 น.
- จัดสงชาครั้งที่สอง เวลาประมาณ 12.00 น.
- เริ่มเก็บชาเมื่อเวลา 12.30 น. สงโรงงานเวลา 14.00 น.
- สงผลผลิตชาเขาโรงงานครั้งสุดทายเวลาไมเกิน 15.30 น. 48
ใบชาที่ทําการเก็บทุกรุนในแตละวันควรไดรับการผึ่งแดดอยางทั่วถึงประมาณ 40 นาที ถึง 1
ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพอากาศในชวงทําการผึ่งดวย
การเก็บยอดชาโดยใชเครื่องจักร วิธีการเก็บยอดชาดวยเครื่องจักรเหมาะสําหรับสวนที่มีขนาด
ใหญหรือสวนที่ปลูกชาในพื้นที่ที่สามารถใชเครื่องทุนแรงได การเก็บยอดชาดวยเครื่องจักรไมสามารถ
เลือกขนาดของยอดชาได ดังนั้นการเก็บยอดชาดวยวิธีนี้ จึงตองกําหนดเวลาการเก็บดวยการตัดแตง
ดังเชน ในประเทศญี่ปุนหลังจากทําการตัดแตงในชวงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน ชาจะพักตัว และเริ่ม
แตกยอดใหมประมาณเดือนมีนาคม ยอดใหมนี้จะเก็บเกี่ยวไดในชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เปน
ตน แตอยางไรก็ดี การจัดสวนชาดวยวิธีนี้ จําเปนตองมีชวงเวลาในการจัดการดูแลรักษาดานตาง ๆ ที่
แนนอน
สําหรับการดูแลรักษาสวนชาที่ดียอมสงผลใหไดผลผลิตสูง และยอดมีคุณภาพดีเหมาะสําหรับ
การแปรรูปเปนชาชั้นดีชนิดตาง ๆ แตอยางไรก็ตาม คุณภาพชายังขึ้นอยูกับกระบวนการแปรรูป และ
ความชํานาญของผูควบคุมกระบวนการแปรรูปอีกดวย
10.  การแปรรูปชา
การแปรรูปชา แบงได 2 สวนหลัก ดังนี้
1. การผึ่งชา
2. การทําเม็ดชา
1.  การผึ่งชา มีขั้นตอนและวิธีการที่สําคัญ ดังนี้
1.1 การผึ่งแดด เมื่อผลผลิตใบชาสดสงถึงโรงงานหลังจากทําการชั่งน้ําหนักแลว จะทํา
การผึ่งชาดวยแสงแดดใชเวลา 40 นาทีโดยประมาณ หากวันดังกลาวมีแสงแดดดีจะทําการผึ่งแดด โดย
ไมใหใบชาสัมผัสแสงแดดโดยตรง ควรมีตาขายพรางแสงความถี่ประมาณ 60 % ปองกันความเขมของ
แสงแดด อุณหภูมิขณะผึ่งแดดไมควรเกิน 35 องศาเซลเซียส ในสภาพอากาศดีปฏิบัติดังนี้
ผึ่ง 10 นาที-----พลิกใบชา-----ผึ่ง 10 นาที-----พลิกใบชา-----ผึ่ง 20 นาที-----เขาหองผึ่ง จาก
การปฏิบัติดังกลาวจะใชเวลา 40 นาที หากสภาพอากาศไมดีมีฝนตกหรือทองฟาครึ้มตองใชเวลามาก
ขึ้นอาจผึ่งใชเวลา 1 ชั่วโมง การปฏิบัติดังกลาวเปนเพียงหลักการแตจะทําการสังเกตจากสภาพใบชา
รวมดวย กลาวคือผึ่งแดดจนใบชาไมมีความมันวาว ผิวใบชานิ่มเหมือนสัมผัสเนื้อผา (ใบชากอนทําการ
ผึ่งแดดจะมีความมันวาวและแข็งกระดาง) การผึ่งแดดบนผาผึ่งชาควรกระจายใบชาใหมีความบางที่
สม่ําเสมอเพื่อที่ใบชาจะไดรับแสงแดดเทา ๆ กันทุกใบ ซึ่งแสงแดดเมื่อสองทะลุใบชาจะทําให
เกิดปฏิกิริยาทางเคมีและปฏิกิริยาทางกายภาพของใบชา เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ เกิดการเคลื่อนตัว49
ของน้ํา ของเหลว และสารที่ใหรสชาติและกลิ่นหอมภายในใบชา (สารดังกลาวจะมีเฉพาะในใบชา
ใบไมชนิดอื่นจะไมมี) สวนลักษณะทางกายภาพที่เปลี่ยนแปลงไปคือ ใบชาจะออนนุมและไมเปนมัน
วาว การผลิตชามีการผลิตใน 3 รูปแบบ ไดแก ชารสชาติออน ชารสชาติกลาง และชารสชาติเขม สวน
ใหญผูบริโภคทั่วไปนิยมดื่มชารสชาติออนมากกวารสชาติอื่น ซึ่งมีหลักวิธีการในการผึ่งแดด ดังนี้
หลักการ/วิธีการ รสชาติออน รสชาติกลาง รสชาติเขม
1.  ความชื้นที่หายไปหลังผึ่งแดด 8 % 15 -17 % 25 -27 %
2.  น้ําหนักสุทธิคงเหลือหลังผึ่งแดด 82 % 83 -85 % 73 -75 %
3.  เวลาที่ทําการผึ่ง (โดยประมาณ) 40 นาที –1 ชั่วโมง 1.30 –2 ชั่วโมง 3 –4 ชั่วโมง
* ใชปริมาณชาสด 100 กิโลกรัมเปนเกณฑเปรียบเทียบ
1.2 การผึ่งในรม เมื่อผานขั้นตอนการผึ่งแดดแลว นําชาเขาผึ่งในรมในหองที่ควบคุม
ความชื้นและอุณหภูมิ ความชื้นและอุณหภูมิที่เหมาะสมในการผึ่งชาในรม คือ ความชื้นสัมพัทธ 80 %
และอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส นําชาผึ่งในกระดงไมหนามาก พักไวบนชั้นผึ่ง หลังจากนั้นทําการพลิก
ใบชาเบา ๆ ทุก 2 ชั่วโมง จํานวน 3 ครั้ง ชวงนี้ใบชาจะคายน้ําโดยคายน้ําออกบริเวณใตใบ ผานรูขุมขน
ที่อยูบริเวณใตใบ การพลิกชาทุก 2 ชั่วโมง เปนการหยุดการคายน้ําชั่วคราว     เมื่อทําการผึ่งใบชาจะ
ทําการคายน้ําตอไป เหตุผล คือ จะตองใหใบชาคายน้ําแตเปนไปตามกระบวนการอยางชา ๆ ซึ่งทั้งนี้
สารประกอบที่สําคัญในใบชามีหลายชนิด สวนประกอบที่เปนน้ําเปนสวนที่ไมตองการ จะตองทําให
เกิดการคายน้ําออกไป แตน้ํามีประโยชนในการเคลื่อนสารประกอบที่สําคัญในใบชาเพื่อการทํา
ปฏิกิริยาตาง ๆ ในใบชาที่ผานกระบวนการผึ่งแดด การผึ่งในรม การกระตุนใบชา และการหมักใบชา
นั่นเอง
1.3 การหมักใบชา หลังจากทําการผึ่งชาในหองและทําการกระตุนดวยการพลิกใบชา
จํานวน 3 ครั้งจนครบ หลักสําคัญในการพลิกใบชาเพื่อควบคุมใหน้ําในใบชาออกตามรูขุมขนที่อยูใตใบ
ชา (ออกจากสวนที่ถูกตอง) หากทิ้งไวโดยไมมีการพลิกชา น้ําก็จะออกไปเชนกัน แตชาจะไมมีกลิ่นหอม
เพราะสารที่ใหกลิ่นหอมและรสชาติจะหายไปดวย จากนั้นใหนําใบชาเขาเครื่องเขยาใชเวลาประมาณ 20
นาที โดยใชรอบเดินเครื่องเขยาชาที่สุด หากเขยาโดยใชรอบสูงจะทําใหใบชาช้ํา  ใบชามีสีแดง เกิด
ความเสียหายแกใบชาไดงาย ซึ่งชวงแรกของการเขยาใบชาจะมีกลิ่นเหม็นเขียวที่รุนแรง ทําการเขยา
จนกระทั่งกลิ่นเหม็นเขียวคอย ๆ หมดไปจากใบชา เริ่มมีกลิ่นหอมของใบชาที่แทจริง เมื่อครบเวลาเขยา
แลวนําใบชาใสกระดงเพื่อทําการหมักใบชาใหเกิดกลิ่นหอม การหมักจะใสใบชาในกระดงมีปริมาณที่
มากขึ้นประมาณสี่เทา (ประมาณ 4.5 กิโลกรัม) เมื่อทําการกระตุนใบชาดวยการพลิกใบชาแลว หมักใบ50
ชาไวในกระดงอีก 2-3 ชั่วโมง เมื่อเวลาผานไปประมาณ 2 ชั่วโมง ใหดมกลิ่นใบชาที่หมักไวจะมีการ
เปลี่ยนแปลงโดยมีกลิ่นหอมของชามากขึ้น กลิ่นเหม็นเขียวเริ่มหมดไปหรือใชการสังเกตจากสภาพใบ
ชาที่ทําการหมักไว ดังนี้
จุดสังเกต รสชาติออน รสชาติกลาง รสชาติเขม
1.  กานใบ สีเหลืองออน สีเหลืองทอง สีเหลืองเขม
2.  ใบ สีเขียวปนเหลือง สีเหลือง สีแดง
ขั้นตอนทั้งสามขั้นตอนมีความสําคัญมาก ชาที่คั่วออกมาจะรสชาติดี มีกลิ่นหอมหรือไม ตอง
ผานกระบวนการที่ดีและถูกตอง หากคั่วแลวมีกลิ่นหอมแสดงวาขั้นตอนที่ 1-3 ทําไดดี
1.4 การคั่วชา  จุดประสงคหลักของการคั่วใบชา คือ ตองการที่จะหยุดปฏิกิริยาภายในใบ
ชาที่มีความหอมที่ถึงจุดสูงสุด เปนการคงความหอม รสชาติ ดวยการใชความรอน โดยใชอุณหภูมิ 300
– 320 องศาเซลเซียส ปริมาณชาที่เขาคั่วแตละครั้ง จํานวน 9 กิโลกรัม ใชความเร็วรอบสูงในชวงการคั่ว
ระยะแรก เพื่อไลกลิ่นเหม็นเขียวออกไป เมื่อคั่วไปไดประมาณ 3-4 นาที จะเริ่มมีกลิ่นหอมใหสูดดม
กลิ่นของไอที่ออกมาจากเครื่องคั่วชา หากมีความหอมของชาที่แทจริง (ไมใชกลิ่นเหม็นเขียว) ใหลด
ความเร็วรอบของเครื่องคั่วชาลงเพื่อใหไดใบชาสุกสม่ําเสมอและใบชาไมแหงเกินไป ใชเวลาในการคั่ว
ประมาณ 7 นาที จึงเทชาที่คั่วใสถุงผานําเขาเครื่องนวดทั้งถุงผาใชเวลา 2 นาที นําชามาสาง 1 นาที
แลวหอในผาทําการนวดอีกครั้ง ใชเวลา 1 นาที ทําการสางใบชาผึ่งไวในกระดงเพื่อรอใหมีปริมาณมาก
พอที่จะนําเขาเครื่องอบแหงพรอม ๆ กัน เมื่อทําการอบแหงครบทุกชุดแลว ใชผาผึ่งชาปูพื้นแลวจึงนํา
ใบชาทั้งหมดเทกองรวมกันแลวใชผาปดทับไว เพื่อรอการปนเม็ดชาหรือทําเม็ดชาในวันรุงขึ้น
หลักการคั่วที่ถูกตอง คือ
1. คั่วใหสุก
2. คั่วใหสม่ําเสมอ ใหไดรับความรอนที่ทั่วถึง
3. คั่วใหกลิ่นเหม็นเขียวหายไป มีกลิ่นหอมเพิ่มขึ้น
ซึ่งหากการคั่วใบชาไดที่และสมบูรณถูกตอง สามารถสังเกตไดจากการที่กลิ่นเหม็นเขียว
หมดไป จับใบชาจะเริ่มแหงแตมีความหนืดอยูและเมื่อลองดึงบริเวณกานใบชาจะมีเนื้อเยื่อติดมาดวย
แสดงวาคั่วสุกไดที่ 51
2.  การทําเม็ดชาหรือการปนเม็ดชา
1. เริ่มดวยการนําใบชาเขาเครื่องอบแหงหนึ่งรอบ ชั่งน้ําหนักชาประมาณ 12 กิโลกรัมตอ
หอผา ทําการปนเม็ดโดยการหอผา นําเขาเครื่องนวดอัดเม็ดใชเวลา 5-6 นาที ปนเม็ดและเขาเครื่อง
นวดอัดเม็ดอีกรอบ ในรอบที่สาม ใบชาจะเริ่มเย็นตองนําชาอุนในเครื่องคั่วกอนเปนการอุนรอนและทํา
การปนเม็ดชาและเขาเครื่องนวดอัดเม็ดอีกสามครั้งเปนการอุนเย็น จะทําการอุนรอนและอุนเย็นโดย
เริ่มตั้งแตรอบที่ 3 เปนตนไป จนครบจํานวน 6 รอบ ในกรณีที่มีปริมาณชานอยใหทําการหมักชาทิ้งไว
ประมาณ 10-15 นาทีตั้งแตรอบที่ 3 หากชามีปริมาณมากไมจําเปนตองทําการหมักใหดําเนินการตาม
กระบวนการไปเรื่อย ๆ
2. ทําการปนเม็ดชาใหมีความกลมแนน โดยใชเครื่องนวดอัดเม็ดรูปดอกบัว ทั้งนี้ อาจใช
จํานวนรอบเพิ่มขึ้นจนแนใจวาแนนและกลมดีแลว พักชาไวในหอผาประมาณ 30 นาที จึงนําชาเขา
เครื่องอบแหงที่ตั้งอุณหภูมิไวที่ 100 องศาเซลเซียส จํานวน 3 รอบ เหลือความชื้นประมาณ 4 % เมื่อ
ความรอนในตัวชาลดลงจึงบรรจุใสถุงพลาสติกกันความชื้นเพื่อรอการบรรจุจําหนายตอไป
11.  การทดสอบคุณภาพชา
หลังจากผานกระบวนการแปรรูปตามขั้นตอนตาง ๆ มาแลว จะตองทําการทดสอบคุณภาพ
ของชาที่ทําการแปรรูปในชุดนั้น ๆ เพื่อประเมินคุณภาพและตีราคา ตามปกติชาคุณภาพดีที่สุดสําหรับ
ประเทศไทยเปนผลผลิตชาชวงตนฤดู (ระหวางปลายเดือนกุมภาพันธ-เมษายน) และชาปลายฤดู
(ระหวางเดือนตุลาคม-ธันวาคม) แตทั้งนี้จะมีผลผลิตชาออกมามากโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน
เพราะฉะนั้นผลผลิตชาที่ไดจะขึ้นอยูกับสภาพอากาศในวันแปรรูป และสภาพใบชาที่ทําการเก็บเกี่ยวใน
วันนั้น ๆ ดวย หากชวงการแปรรูปทางผูทําการแปรรูปเขาใจหลักการในการแปรรูป โดยนําเครื่องมือที่มี
อยูมาปรับใชหรือปรับวิธีการปฏิบัติใหเหมาะสมกับสถานการณก็จะสามารถทําการแปรรูปชาแตละคุน
การผลิตใหมีรสชาติและคุณภาพที่ใกลเคียงกันตลอดทั้งป
ปจจัยสําคัญที่มีผลตอคุณภาพชา
1. ระดับพื้นที่ปลูก การปลูกชาในพื้นที่ที่มีความสูงมากกวายอมทําใหผลผลิตชาที่ดีกวาทั้ง
ดานกลิ่นหอมและรสชาติ ในไตหวันมีสภาพเปนเกาะมีสภาพพื้นที่ปลูกดีกวาประเทศไทย มีการแบงฤดู
หรือสภาพอากาศแตละชวงที่ชัดเจน
2. คุณลักษณะของดินปลูก ดินแดงเหนียวเหมาะสมในการปลูกชามากที่สุด บนที่สูงทาง
ภาคเหนือของประเทศไทยสวนใหญ ดินจะเปนดินรวนปนดินเหนียวแดง จึงเหมาะสําหรับการปลูกชา
จีน ซึ่งจะใหผลผลิตชาคุณภาพดีกวาดินชนิดอื่น ๆ ดินแดงที่มีทรายปนมาก ๆ จะทําใหชามีรสขม 52
3. ฤดูกาล ผลผลิตชาแปรรูปชวงฤดูฝนจะมีรสชาติขมมากกวาชวงฤดูแลงหรือฤดูหนาวซึ่ง
ชวงฤดูหนาวรสชาติจะดีที่สุด
ตารางเปรียบเทียบรสชาติชาคุณภาพดีและคุณภาพไมดี
ชาที่คุณภาพดี ชาคุณภาพไมดี
1. มีกลิ่นหอม (ความหอมและรสชาติจะออกมา
พรอมกัน ในชวงเวลาของการชิมชา)
1.   กลิ่นไมหอม (ตองเปนกลิ่นหอมที่เกิดจากใบชาที่
แปรรูปไมมีกลิ่นอื่นปรุงแตง)
2. มีความชุมคอ 2.   ดื่มไมลื่นคอ  ไมชุมคอ
3. ดื่มงาย  ไมมีรสขม  ฝาด 3.   มีรสขม ฝาด (รสฝาดและขม ไมสามารถแยกแยะ
ไดจากการดมกลิ่น)
4. มีความเขมของรสชาติชาที่แทจริง 4.   รสชาติออน
สําหรับรสชาติ  กลิ่นหอมของชาแตละสายพันธุสามารถแยกแยะไดจากการทดสอบรสชาติ    
ซึ่งตองใชความชํานาญและประสบการณที่ไดรับการฝกฝนมาเปนเวลานาน สามารถแยกแยะวา ชา    
ที่ชิม ปลูกในระดับความสูงเทาใด เปนพันธุอะไร มีกลิ่นของสิ่งแปลกปลอม เชน ปุย สารเคมีหรือไม    
ในระหวางการแปรรูปมีความผิดพลาดในขั้นตอนใดบาง
กอนการทดสอบคุณภาพของชาทั้งดานกลิ่นและรสชาติ จะตองทราบถึงประสาทรับรสตาง ๆ
ภายในชองปากวาสวนใดรับรสชาติใด เพื่อสามารถแยกแยะรสชาติของชาไดอยางถูกตอง แมนยํา    
จะเห็นไดวาภายในชองปากและลิ้น มีประสาทรับรสชาติที่แตกตางกันไปในแตละสวน สามารถ
แยกแยะรสชาติที่แตกตางกันของน้ําชาและอาหารตาง ๆ ไดดี 53
เอกสารอางอิง
กรมวิชาการเกษตร.  2544.  ชา.  ผลงานวิชาการประจําป  2543  เลม  3.  เอกสารประกอบการประชุม
วิชาการประจําป  2544.  น. 151 – 163.
ดุสิต   อุสาหะ  และเกตุอร   ราชบุตร. 2531.  การปลูกชาและการทําชาจีน.  คําแนะนําที่  131. กรม
สงเสริมการเกษตร.  21  น.
มานพ    หาญเทวี.  2541.   การเปรียบเทียบพันธุชาจีนพันธุการคา.  รายงานการสัมมนาทาง
วิชาการ  เรื่อง งานวิจัยการเกษตรที่สูงของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจในการรับรองและ
สนับสนุนโครงการหลวง.  กองพัฒนาเกษตรที่สูง,  เชียงใหม.  น. 178
วิวัฒน   ภาณุอําไพ   ดุสิต   อุสาหะ   สนอง   จรินทร  และสมาน  ภักดี.  2541.  การรวบรวมและ
อนุรักษเชื้อพันธุชา.  รายงานผลการวิจัยประจําป  2541 – 2542.  ศูนยวิจัยเกษตรหลวง
เชียงใหม  สถาบันวิจัยพืชสวน  กรมวิชาการเกษตร.  น. 74- 85.
สัณห   ละอองศรี. 2535.  ชา.  โครงการหลวงวิจัยชา  สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ. สํานักพิมพรั้ว
เขียว,  กรุงเทพฯ.  166  น
สมพล    นิลเวศน. 2544.  การปลูกชาและการดูแลรักษาสวนชา.  เอกสารประกอบการฝกอบรม
ตามโครงการพัฒนาตลาดเพื่อสนับสนุนการกระจายผลผลิตในระดับจังหวัด. ศูนยวิจัยพืช
สวนเชียงราย,  เชียงราย.  10  น.
สมพล   นิลเวศน. 2543. งานวิจัยและพัฒนาการผลิตชา. รายงานการสัมมนาวิชาการ พ.ศ. 2543
เรื่อง  งานวิจัยและพัฒนาการเกษตรในเขตภาคเหนือตอนบน. สํานักวิจัยและพัฒนาการ
เกษตร เขตที่ 1, เชียงใหม. น. 65 – 71.
สมพล    นิลเวศน.  2541. การรวบรวมและศึกษาชาจีนลูกผสมในสภาพที่สูง. รายงานการสัมมนา
ทางวิชาการเรื่อง งานวิจัยการเกษตรที่สูงของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจในการรับรองและ
สนับสนุนโครงการหลวง. กองพัฒนาเกษตรที่สูง, เชียงใหม. น. 175.
สมพล    นิลเวศน  เกษม  ทองขาว   พันธศักดิ์  แกนหอม  และธวัชชัย   ศศิผลิน.  2544. รวบรวมและ
ศึกษาพันธุชาจีนลูกผสมในสภาพพื้นที่สูง. รายงานการประชุมวิชาการ ผลงานวิจัยของ
มูลนิธิโครงการหลวง ประจําป 2543. ฝายวิจัย มูลนิธิโครงการหลวง, เชียงใหม. น. 95 – 107. 54
สมพล    นิลเวศน  ถนอม ไชยปญญา และอุทัย   นพคุณวงศ. 2541ก. การศึกษาวิธีการตัดแตงทรง
พุมที่เหมาะสมสําหรับการผลิตชาบนที่สูง. รายงานผลงานวิจัย ประจําป 2541 – 2542.
ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม  สถาบันวิจัยพืชสวน  กรมวิชาการเกษตร. น. 117 – 135.
สมพล    นิลเวศน  ถนอม  ไชยปญญา  และอุทัย   นพคุณวงศ.  2541ข.  การศึกษาวิธีการผลิตชา
เขียว. รายงานผลงานวิจัย ประจําป 2541 – 2542.  ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม
สถาบันวิจัยพืชสวน  กรมวิชาการเกษตร. น. 136 – 151.
เหมยอิงแซหลอ. 2541. การปลูกและแปรรูปชาจีน. รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องเทคโนโลยี
การผลิตชาจีน. มูลนิธิโครงการหลวงรวมกับ ATM–ROC. กองพัฒนาเกษตรที่สูง, เชียงใหม.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น